1 / 49

โดย อาจารย์วิชัย รูปขำดี คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาสังคมและชุมชน. โดย อาจารย์วิชัย รูปขำดี คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สถานภาพทางวิชาการ. ใช่. ไม่ใช่. ไม่แน่ใจ. เป็นความคิดเห็น ( Opinion) เป็นข้อเสนอความคิดเห็น (Idea) เป็นอุดมการณ์ (Ideology)

Gabriel
Download Presentation

โดย อาจารย์วิชัย รูปขำดี คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาสังคมและชุมชนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาสังคมและชุมชน โดย อาจารย์วิชัย รูปขำดี คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

  2. สถานภาพทางวิชาการ ใช่ ไม่ใช่ ไม่แน่ใจ • เป็นความคิดเห็น (Opinion) • เป็นข้อเสนอความคิดเห็น (Idea) • เป็นอุดมการณ์(Ideology) • เป็นปรัชญา(Philosophy) • เป็นฐานคติ(Assumption) • เป็นแนวคิด(Concept) • เป็นทฤษฎี(Theory) • เป็นยุทธศาสตร์การพัฒนา(Dev. Strategy) • เป็นกรอบกระบวนทัศน์การพัฒนาแบบใหม่ • (New dev. Paradigm) สถานภาพทางวิชาการของเศรษฐกิจพอเพียง

  3. ข้อสรุปเชิงองค์ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงข้อสรุปเชิงองค์ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง • เกิดจากพระราชดำริของในหลวงตั้งแต่ พ.ศ.2517 • ไม่มีปรากฏอยู่ในตำราตะวันตกมาก่อน • เป็นการสรุป รวบรวม ค้นคว้า ทดลอง วิจัย ติดตามผล ปรับปรุงแก้ไข และสั่งสมความรู้ไม่น้อยกว่า 30 ปี • เป็นการใช้ความรู้จากศาสตร์หลายสาขา (Interdisciplinary approach) • เป็นการมองปัญหาการพัฒนาแบบองค์รวม (Holistic) • สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ในหลากหลายสาขางานอาชีพ • มีตัวอย่างที่ใช้กับภาคการเกษตรคือ “ทฤษฎีใหม่” • เชื่อว่าสามารถพัฒนาเป็นทฤษฎีการพัฒนา (Development theory)

  4. การขยายองค์ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงการขยายองค์ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง • สถานภาพยังไม่ใช่ความรู้สำเร็จรูป (Instant knowledge) • แนวทางการสรุปสู่แนวคิดทฤษฎี • วิธีที่ 1 เชิงอุปนัย (Inductive) • วิธีที่ 2 เชิงนิรนัย (Deductive) 3. เครื่องมือที่ใช้ : การรวบรวมทบทวนเอกสาร การค้นคว้าหาข้อสรุปเบื้องต้น การวิจัย การจัดทำหลักสูตรต่าง ๆ การจัดอบรม การสอนเป็นวิชา การทดลองปฏิบัติ การเสนอแนวคิด การอภิปรายแลกเปลี่ยน การหาข้อสรุป การนำเสนอเชิงทฤษฎี และการสัมมนา

  5. I การพิจารณาเศรษฐกิจพอเพียงในกรอบเศรษฐกิจ พรหมแดนแห่งวิชาเศรษฐศาสตร์ 1. เศรษฐศาสตร์กระแสหลัก (Main stream economics : Neo – Classical School) 2. เศรษฐศาสตร์กระแสรอง/ทางเลือก • เศรษฐศาสตร์สังคมนิยม (Socialism economics) • เศรษฐศาสตร์สถาบัน (Institutional economics) • เศรษฐศาสตร์มนุษย์นิยม (Humanism economics) • พุทธเศรษฐศาสตร์ (Buddhist economics) • เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency economy)

  6. ฐานคติของเศรษฐศาสตร์กระแสหลักฐานคติของเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก ค.ศ.1800-1900 ทุนนิยม (Capitalism) Mass consumption สุขเกิดจากเสพย์ Mass production ค.ศ.2000 ทุนนิยมเสรี + โลกาภิวัตน์ (Globalization) Mass consumption เสพย์ สุข สื่อ Mass production ค.ศ.1750 Wealth of the Nations การค้าขายกับต่างประเทศ การล่าอาณานิคม เกิดจาก เกิดจาก : Efficiency of growth สงครามอาวุธ สงครามเย็น สงครามเศรษฐกิจ

  7. ฐานคติของเศรษฐศาสตร์กระแสรอง/กระแสทางเลือกฐานคติของเศรษฐศาสตร์กระแสรอง/กระแสทางเลือก 1 เศรษฐศาสตร์สังคมนิยม ค.ศ.1990 ค.ศ.2000 : Distribution of growth 2 เศรษฐศาสตร์สถาบัน 3 เศรษฐศาสตรมนุษย์นิยม 4 พุทธเศรษฐศาสตร์ Small is beautiful 5 เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency economy

  8. ความสุดโต่งและทางสายกลางของระบบเศรษฐกิจความสุดโต่งและทางสายกลางของระบบเศรษฐกิจ กระแสรอง/กระแสทางเลือก เศรษฐกิจทุนนิยม (Capitalism economy) เศรษฐกิจสังคมนิยม (Socialism economy) กระแสหลัก เข้าใจ ธรรมชาติมนุษย์ ยอมรับ ข้อจำกัด เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency economy) โลกาภิวัตน์ ชี้โทษ ให้เห็นทุกข์ ชี้จุดอ่อน ให้แก้ไข เศรษฐกิจการค้า/เศรษฐกิจตาโต(Trade economy) เศรษฐกิจหลังเขา (Self-sufficiency economy) • ไม่มีขอบเขตประเทศ ทั้งบนโลกในอวกาศ(ใช้ space ในอวกาศเป็นสินทรัพย์- กำลังจับจองพื้นที่บนดาวดวงอื่น • พึ่งตนเอง 100 % - ปิดประเทศ

  9. แหล่งทำความเข้าใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง (ภาคทฤษฎี) • พระราชดำรัสและพระราชดำริที่เกี่ยวข้องในโอกาสต่าง ๆ (สศช.และนิด้ารวบรวม) • หลักคำสอนที่เกี่ยวข้องในพุทธศาสนาและศาสนาอื่น ๆ • E.F. Schumacher, Small is Beautiful 1973 • งานวิจัย เช่น สังสรรค์ ธนพรพันธ์, นิธิ เอียวศรีวงศ์, เสน่ห์ จามริกปรีชา เปี่ยมพงษ์สานต์ และคณะ อภิชัย พันธเสน (เศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับความเข้าใจของนักเศรษฐศาสตร์) • เอกสารอื่น ๆ

  10. แหล่งทำความเข้าใจเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง (ภาคปฏิบัติ) • ศูนย์ศึกษาการพัฒนา 6 แห่งในภูมิภาคต่าง ๆ • โครงการพระราชดำริส่วนใหญ่ ราว 2 พันโครงการ • กิจกรรมของชุมชนและองค์กรเครือข่ายต่าง ๆ เช่น คกร. กสิกรรมธรรมชาติ ไม้เรียง วังน้ำเขียว ชุมพรคาบาน่า ฯลฯ • กรณีศึกษา บุคคล ครอบครัว ชุมชน • กรณีการนำเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติอื่น ๆ

  11. พุทธเศรษฐศาสตร์ (Buddhist economy) • ช่วง 45 ปี ก่อนพุทธศักราช สอนในอินเดีย ตำราที่อ้างอิงได้ในปัจจุบันคือพระไตรปิฎก • มีการนำมาปฏิบัติกันในโลกมากบ้าง น้อยบ้าง เข้มข้นบ้าง ผิวเผินบ้าง ปะปนกับแนวคิดอื่นบ้างกว่า 2500 ปี ที่ผ่านมา • ค.ศ.1973 (พ.ศ. 2516) E.F. Schumacher เขียนเป็นบทหนึ่งในหนังสือ Small is Beautiful, Economics as if people mattered • 2544 อภิชัย พันธเสน พุทธเศรษฐศาสตร์ • งานวิจัย ค้นคว้า รวบรวมอื่น ๆ เกี่ยวกับพุทธเศรษฐศาสตร์

  12. ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์กับทฤษฎีพัฒนาทฤษฎีเศรษฐศาสตร์กับทฤษฎีพัฒนา Adam Smith : Wealth of the Nations ค.ศ. 1950 ถึง 1970s • Capital accumulation/Market failure (Stages of growth, Big Push etc.) • Active government ค.ศ. 1970s ถึงปัจจุบัน • Neo liberalism • Government Failure

  13. II ถอดความเศรษฐกิจพอเพียง คุณลักษณะ ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงการดำรงอยู่และปฎิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอ คำนิยาม ประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผล กระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความ รอบคอบ และความระมัดระวัง อย่างยิ่งในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนการดำเนินการทุก เงื่อนไข ขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสำนึก คุณธรรมความชื่อสัตย์ สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่ ในดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญาและความรอบคอบ เพื่อให้สมดุล เหมาะสม แนวปฏิบัติและ ผลที่คาดหมาย ฯ และพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และ วัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี

  14. องค์ประกอบและเงื่อนไขแห่งปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงองค์ประกอบและเงื่อนไขแห่งปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3 องค์ประกอบ 1. พอประมาณ (ทางสายกลาง) 2. มีเหตุผล 3. มีภูมิคุ้มกันในตน 1. เงื่อนไขความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) 2. เงื่อนไขคุณธรรม (ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน) นำสู่ ชีวิต เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม สมดุล / มั่นคง / ยั่งยืน

  15. 3 องค์ประกอบ ปรัชญา : 1) พอประมาณ 2) มีเหตุผล 3) มีภูมิคุ้มกัน 2 เงื่อนไข 1 ความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) 2 คุณธรรม (ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน) 5. ขาย แลกเปลี่ยน (Distribution) 4. สะสม เก็บรักษา (Maintain) 3. ให้ (Our loss is our gain) 2. ทำให้พอเพียง (Meet the requirement) 1. พึ่งตนเอง (Independence) ยุทธศาสตร์ :

  16. DEVELOPMENT OF SUFFICIENCY ECONOMY Philosophy : Components: Sample of Strategies 5. Distribution 4. Conservation/Investment 3. Sharing 2. Our loss is our gain 1. Self-reliance 2. Reasonableness 3. Self-immunity 1. Moderation As a set of Concepts: with Knowledge conditions Moral conditions -and- Theory : Development Results: - Independent - Quality of growth - Sustainable

  17. Functional-Structural School เน้นการทำหน้าที่ของระบบใหญ่ ระบบย่อย และความสัมพันธ์ของระบบย่อย เพื่อดุลยภาพของระบบ การปรับตัวของระบบเกิดขึ้นเมื่อองค์ประกอบหรือความสัมพันธ์เปลี่ยน (Moving equilibrium) 2. Conflict School ในระบบสังคมมีความขัดแย้งโดยธรรมชาติระหว่าง Super ordinate และ Subordinate ความขัดแย้งอาจอยู่ในสภาพแฝงเร้น (Latent interest หรือ ชัดแจ้ง (Manifest interest) สองสำนักคิดทางสังคม III การพิจารณาเศรษฐกิจพอเพียงเชิงสังคมและการพัฒนา

  18. สำนักคิด / ทฤษฎีหลัก (Grand Theory) 1. โครงสร้าง – หน้าที่ (Functional Structural) เช่น - ทฤษฎีการเติบโตทางเศรษฐกิจ (Growth Theory) - ทฤษฎีภาวะความทันสมัย (Modernization Theory) ทฤษฎีสังคมกับทฤษฎีพัฒนา ระดับของทฤษฎี กระแสหลัก กระแสรอง 2. ความขัดแย้ง (Conflict) เช่น - ทฤษฎีด้อยพัฒนา (Under Development Theory) - ทฤษฎีพึ่งพา (Dependency Theory) -ทฤษฎีมูลค่าส่วนเกิน (Surplus Value Theory) ทฤษฎีระดับกลาง (Middle range Theories) กฎของอุปสงค์ – อุปทาน (Low of Demand and Supply) ทฤษฎีจุลภาค (Micro Theories)

  19. สำนักคิด/ทฤษฎีมหภาค (Grand Theory) ส่วนที่ยังขาดของทฤษฎีสังคมและทฤษฎีพัฒนา กระแสทางเลือก ระดับของทฤษฎี กระแสหลัก กระแสรอง สำนักคุณธรรม (Moralist) โครงสร้างหน้าที่ ความขัดแย้ง เป็นทฤษฎีภายใต้แนวคิด และการครอบงำของระบบ ทุนนิยม เน้น สะสมทุน วัตถุนิยม บริโภคนิยม - เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) - ทฤษฎีใหม่ ฯลฯ เน้นความพอเพียงในชีวิตที่เป็นจริง ทฤษฎีระดับกลาง (Middle range Theories)

  20. OVERVIEW OF THE TOPIC • Human • Values (HV) • Status, roles and functions of SE • HV in globalization • Relationship of SE to HV • SD in globalization • Relationship among SE,HV and SD • Future trends of development alternatives 1. Sufficiency Economy (SE) 3. Social Development (SD)

  21. Sufficiency • Economy (SE) 3. Social Development (SD) 2. Human Values (HV) • Concept and Scope of HV • Economic Aspect of HV • Change of HV in Globalization: Individual based VS Community based • 4.Business Role Domination • 5.SEas a mechanism for Balancing of HV • Concept and Scope of SD • Roles and Status of SD • Change of Development in Globalization: • - Economic capital VS Social • capital • - Human Development and • Human Security • SE as a right direction for SD

  22. Concept and Scope of Human Values • Definition • Value: An abstract and shared idea about what is desirable, good or correct. • Human Values are selected behaviors of people in society according to their shared ideas about what is desirable, good or correct.

  23. Concept and Scope of Human Values (cont’) 2. Conformation Human Values Socialization Acculturation Cultural Reproduction

  24. 2. Conformation (cont’) Socialization: The process by which people learn the culture of society and become full participants in that society. Cultural Reproduction: The process by which people were socialized according to adoption of identities, values, norms and behaviors. Acculturation: The process by which a group adopts the dominant culture.

  25. Economic Aspect of Human Values Human Values System Democracy Politic Education Economic Capitalism Human Values • Production • Investment • Consumption • Distribution • etc. Other aspects Social Culture Community based Individual based -VS-

  26. Human Value Change in Globalization Before Globalization Globalization Individual based Individual based Community based Community based

  27. Business, State and Community Roles in Globalization INDIVIDUAL BASED New TNCS China Transnational Corporations : USA. EU. Japan Singapore Shell, Exxon, GE Unilever, Intel corp.,Toyota, IBM Sony, Microsoft, AT&T,etc. Business roles State roles Thailand People roles Community based

  28. Big Transnational Corporations

  29. Roles of Sufficiency Economy in Balancing of Human Values Globalization Individual based Sufficiency Economy Community based 1/4 Time1--------------- Time2

  30. Roles of Sufficiency Economy in Balancing of Human Values (cont’) Individual based Human Values Community based Human Values Remobilization: Theprocess that decrease individual based andadopt identities, value, norms and behavior of community based. Social Movement: A set of attitude and self-conscious actions by people who seek to change society’s ideology or structure. • Sufficiency Economy • Components • Conditions • Applications • ect.

  31. 3. Social Development 1. Concept and Scope 1) Many and different approaches - Social assistance - Social welfare - Social development - Societal development 2) Common objectives - Change for the better life - Human dignity - Well being - Social justice - Quality of life - Human security - ect.

  32. Social Development (cont’) 3) Characteristics - Link to economic development - Link to environmental development - Interdisciplinary - Progressive in nature - Universalistic - Various strategies - Use both social process and social movement - Early intervention

  33. Social Development (cont’) 2. Roles and status 1) Monetary value  Economic Development - Wealth - Growth 2) Non-monetary value Social Development - Human Happiness - Sufficiency-oriented mind - Social and environmental improvement - Social security - Sustainable

  34. Scope of Social Development in Globalization I. Human Development II. Human Protection 1.Quality of Life (QOL) 9 Social Surveillance (SS) 2.Human Development Index (HDI) 3. Gross National Happiness (GNH) 6. Human Security (HS) 4. Capitalism & Globalization (C&G) 5. Social Safety Net (SSN) 8. Social Investment (SI) 7. Social Capital (SC)

  35. The Novel Path of Development • Two dimensions - Growth - Social and environmental improvement Quality Growth • Incorporate broader aspects of development rather than growth • Steady growth with social and environmental sustainability

  36. Introduction to Non-monetary Values Social Capital “ The internal social and cultural coherence of society, the norms and values that govern interaction among people, and that institutions in which they are embedded. (Collier 1998)

  37. Institution “ Institution are the rules of game in a society or, more formally, are the human devised constrains that shape human interaction” (Douglass North) • According to Helpman (2004), institution are systems of organization, rules and beliefs. • Beliefs motivate people to follow rules, both formal and informal. - Informal structure “Can be sustained only if people believed that actions will lead to well defined rewards or punishments.

  38. Level and Relationship of Theories: A Sample Level of theory Main Stream Alternatives Grand Theory Functional-Structural School Conflict School Middle range Theory Modernization Theory Dependency Theory Micro Theory Law of Demand and Supply Surplus Value Theory

  39. Comparison of Development Theories and Sufficiency Economy Thought

  40. ไตรวิกฤตของโลก และข้อจำกัดการพัฒนา (Three Major Problems Threatening World Survival and Limit to Growth) อดีต ปัจจุบัน และอนาคต • ขาดอาหาร • ขาดพลังงาน • ขาดทรัพยากรอื่น ๆ • ฯลฯ • น้ำเสีย • ดินเสื่อม • อากาศพิษ • - ขยะล้น • - ชุมชนแดอัด • ฯลฯ โลก การพัฒนา เศรษฐกิจ การพัฒนาเศรษฐกิจ แบบทุนนิยม ที่ขาดความ พอเพียง ปริมาณ ทรัพยากร อาหาร และพลังงาน คุณภาพ สิ่งแวดล้อม ปริมาณ ทรัพยากร อาหาร พลังงาน คุณภาพ สิ่งแวดล้อม ๑. การพัฒนาเศรษฐกิจที่ผิดทิศทาง (มิจฉาทิฐิ ศีลธรรมไม่กลับมาโลกาจะวินาศ) ๒. การขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ ๓. ความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม • รายได้เหลื่อมล้ำ • การอพยพ/ลี้ภัยทาง ศก. • โรคติดต่อร้ายแรง • การก่อการร้ายที่รุนแรง • อุณหภูมิโลกสูง / น้ำท่วม • การทำลายชั้นโอโซน • การทำลายป่าฝน / มีฝนกรด • โรคร้ายจากมลพิษ ความไม่มั่นคงของมนุษย์ (Human Insecurity)

  41. ปริมาณ ยุคหลังฟอสซิล ยุคเชื้อเพลิง ฟอสซิล นิวเคลียร์ ก๊าซธรรมชาติ พลังงานไบโอ น้ำมัน ถ่านหิน เวลา พ.ศ. ค.ศ. 2343 1800 2443 1900 2543 2000 2643 2100 2743 2200 2843 2300 1859 การใช้ทรัพยากรพลังงานของโลก

  42. เศรษฐกิจพอเพียงกับความมั่งคั่งใหม่ของโลกเศรษฐกิจพอเพียงกับความมั่งคั่งใหม่ของโลก SUFFICIENCY ECONOMY and New Wealth of the World

  43. ความมั่งคั่ง (Wealth) ในทัศนะด้านจิตใจ หมายถึงอะไร ? ว. = มีทรัพย์ล้นเหลือ น. 850 ที่มาของความมั่งคั่งเก่า: เกิดจากการค้าการลงทุน โดยยึดหลักกำไรสูงสุดซึ่งต้องมีการแข่งขัน แย่งชิงไปจนถึงการเบียดเบียนเอาเปรียบ เช่น การล่าอาณานิคม การครอบงำทางวัฒนธรรมและความเชื่อ

  44. ความมั่งคั่งใหม่ของโลกความมั่งคั่งใหม่ของโลก คือ. . . . . . ความพอดี พอเพียง. . .ทางสายกลาง เป็นเรื่องจิตใจ รวยทางใจ อันเกิดจากกรรมดี มิใช่เบียดเบียน แต่ทำงานเพื่อมีส่วนเกิน ให้กับผู้อ่อนแอกว่าหรือสังคม

  45. การเปรียบเทียบระหว่างองค์ประกอบการวิเคราะห์ของ 3 กลุ่ม แนวคิด

  46. สถานภาพขององค์ความรู้เศรษฐกิจพอเพียงสถานภาพขององค์ความรู้เศรษฐกิจพอเพียง • เริ่มจากพระราชดำริ • นักวิชาการเขียนเอกสาร • สศช. (สภาพัฒน์) บรรจุในแผนฯ 9 • กระทรวง ทบวง กรม ต่าง ๆ • นิด้า ตั้งศูนย์ศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง 2547 • อยู่ระหว่างนำไปประยุกต์ขยายผล

  47. นโยบายของรัฐที่สอดคล้องและไม่สอดคล้องกับเศรษกิจพอเพียงนโยบายของรัฐที่สอดคล้องและไม่สอดคล้องกับเศรษกิจพอเพียง

  48. ปรากฏการณ์ของปัญหาการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงปรากฏการณ์ของปัญหาการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ระดม / เสนอความเห็น รับข้อเสนอ / จัดทำแผน แผน9 : ใช้เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญานำทาง 1. พ.ศ. 2543 2. สภาพัฒน์ ใช้เศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาประเทศ 1. ไม่มีเป้าหมายและกลไกรองรับ เน้นกระตุ้นเศรษฐกิจ / การลงทุน/ การบริโภค ใช้ นโยบาย ประชานิยม (ชูเอื้องอาทร) จึง 2. ไม่สน 3. รัฐบาล 3. ไม่ทำ รวมศูนย์ CEO ปรับโครงสร้างวางอาณาจักรใหม่ มุ่งสนองนโยบายหาเงินและใช้เงิน 4. หน่วยงานภาครัฐ 4. ไม่เข้าใจ 5. ไม่เกี่ยว มุ่งแข่งขัน ตามก้นฝรั่ง คลั่งตลาดหุ้น คิดว่าเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเรื่องเกษตรรายย่อย คนจน ...สรุปว่า 5. ภาคธุรกิจ เอกชน 6. ไม่กล้า ไม่เข้าใจ ไม่มีปัจจัยที่จำเกษตร จึงคิดว่า 6. คนในเมือง ไม่รู้ไม่มีปัจจัยที่จะทำถูกครอบงำด้วยอบายมุข มีส่วนน้อยที่อยากทำแต่ก็ 7. คนในชนบท

  49. ขอบคุณครับ

More Related