1 / 29

สำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 3

สำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 3. ส่วนตรวจสอบและปราบปราม. การบริหารภาครัฐแนวใหม่ ( New Public Management=NPM ). Max Weber ( 1864-1920 ). ระบบราชการ ( Bureaucracy ) ที่ดีจะต้องประกอบด้วยปัจจัยสำคัญดังต่อไปนี้

Mercy
Download Presentation

สำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 3

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักงานสรรพสามิตภาคที่ 3 ส่วนตรวจสอบและปราบปราม

  2. การบริหารภาครัฐแนวใหม่(New Public Management=NPM)

  3. Max Weber (1864-1920) • ระบบราชการ (Bureaucracy) ที่ดีจะต้องประกอบด้วยปัจจัยสำคัญดังต่อไปนี้ • มีการแบ่งหน้าที่กันทำงาน เพื่อให้เกิดการทำงานเฉพาะด้าน และให้มีการบรรจุคนเข้าทำงานความความชำนาญเฉพาะด้านนั้น ๆ • มีการกำหนดสายบังคับบัญชา และอำนาจหน้าที่ของแต่ละสายบังคับบัญชา • มีการกำหนดสิทธิหน้าที่ของตำแหน่งต่าง ๆ ในแต่ละสายบังคับบัญชา เช่นการจัดทำคู่มือการทำงาน (Job Description)

  4. มีขบวนการในการแก้ไขบัญหาการทำงาน เช่น ปัญหาการทุจริตในการทำงาน ความล่าช้าของงานเป็นต้น • มีระบบของความสัมพันธ์ภายในที่เป็นทางการ เป็นการติดต่อทางสายการบังคับบัญชา • มีระบบการเลื่อนขั้นตำแหน่งที่อยู่บนพื้นฐานการแข่งขัน เช่นการสอบบรรจุ การสอบเลื่อนระดับ เป็นต้น

  5. ระบบราชการ (ของไทย) • หมายถึงองค์กรขนาดใหญ่ซึ่งประกอบด้วยโครงสร้างของการบริหารภายในที่ซับซ้อน มีสายการบังคับบัญชา มีการแบ่งแยกหน้าที่กันทำงาน มีการระบุถึงอำนาจหน้าที่ของตำแหน่งต่าง ๆ มีระบบการเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่ง และมีความสัมพันธ์ภายในที่เป็นทางการ ระบบราชการจึงเป็นองค์กรขนาดใหญ่ที่ประกอบด้วยบุคคลเป็นจำนวนมากที่เข้ามาทำงานร่วมกันโดยอาศัยระเบียบวินัย และกฎเกณฑ์ขององค์การเป็นเครื่องมือในการทำงานร่วมกัน ระบบราชการจึงมักมีการทำงานที่ล่าช้า มีการเลี่ยงความรับผิดชอบ มีอิทธิพลเกิดขึ้นในทุกขั้นตอนของการทำงาน

  6. พจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยาได้ให้ความหมายของระบบราชการไว้ว่าพจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยาได้ให้ความหมายของระบบราชการไว้ว่า “เป็นระบบการปกครองโดยเจ้าหน้าที่หรืออำมาตยาธิปไตย มีลักษณะยึดมั่นในหน้าที่ประจำ มีกฎตายตัวซึ่งดัดแปลงได้ยาก มีระเบียบที่ทำให้ล่าช้า มีการผัดวันประกันพรุ่ง การไม่เต็มใจรับผิดชอบ และไม่ยอมทดลอง”

  7. CHANGE (การเปลี่ยนแปลง)

  8. We must change before we have to(เราควรที่จะเปลี่ยนตัวเอง ก่อนที่คนอื่นจะเปลี่ยนเรา)ดร.เฉลิม ศรีผดุง Change before we are forced to change (เปลี่ยนก่อนที่เราจะถูกบังคับให้เปลี่ยน) Jack Welch

  9. ทำอะไรไม่ได้ก็ให้ไปอยู่สายตรวจทำอะไรไม่ได้ก็ให้ไปอยู่สายตรวจ Change หากทำไม่ได้อย่ามาอยู่สายตรวจ

  10. ค่านิยมของสายตรวจ เกียรติ ศักดิ์ศรี ประสิทธิภาพ

  11. พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เกียรติและความสำเร็จ เกิดจากผลการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตัวของแต่ละคนที่สามารถปฏิบัติงาน ในความรับผิดชอบให้ได้ผลสมบูรณ์ ตรงตามวัตถุประสงค์ และปฏิบัติตัวให้สุจริต เที่ยงตรง พอควรพอดี แก่ตำแหน่งหน้าที่ที่ดำรงอยู่ นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

  12. การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรมในการทำงาน * คิดในกรอบ * ติดกับความเคยชิน • สรุป • *คิดนอกกรอบ • * มุ่งทางเลือกใหม่ อ.ธัญญารัตน์พฤนท์พิตรทานสถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือนสำนักงานก.พ.

  13. ค่านิยมสร้างสรรค์ของเจ้าหน้าที่ ของรัฐ 5 ประการ 1.กล้ายืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง 2.ซื่อสัตย์และมีความรับผิดชอบ 3.โปร่งใส ตรวจสอบได้ 4.ไม่เลือกปฏิบัติ 5.มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน อ.ธัญญารัตน์พฤนท์พิตรทานสถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือนสำนักงานก.พ.

  14. การบริหารภาครัฐแนวใหม่การบริหารภาครัฐแนวใหม่ • เน้นการบริหารแบบมืออาชีพ • กำหนดวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัดผล การดำเนินงานอย่างชัดเจน เป็นรูปธรรม ให้ความสำคัญต่อความรับผิดชอบผลงาน • เน้นผลสัมฤทธิ์ และการเชื่อมโยงเข้ากับการจัดสรรทรัพยากร และการให้รางวัล

  15. การบริหารภาครัฐแนวใหม่ (ต่อ) • ปรับปรุงโครงสร้างองค์กรให้มีขนาดเล็กลง เหมาะสมต่อการปฏิบัติงาน มีการจ้างเหมางานบางส่วนออกไป • เปิดให้มีแข่งขันสาธารณะเพื่อช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพ • ปรับเปลี่ยนวิธีการบริหารงานให้ทันสมัย (บริหารยุทธศาสตร์) • เสริมสร้างวินัยในการใช้งบประมาณ ประหยัด และคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากร

  16. การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ คือการนำแนวความคิดการบริหารของภาคเอกชนมาใช้ในหน่วยงานของรัฐ เช่น Balance ScoreCard, การบริหารงานมุ่งผลสำฤทธิ์ (Result Based Management ( RBM), การพัฒนาสมรรถนะ (Competencies), การวางแผนยุทธศาสตร์ (Strategic Planning), การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค์ (SWOT Analysis)

  17. Balanced Scorecard (BSC) เป็นเครื่องมือซึ่งเกิดจากแนวความคิดที่จะช่วยให้องค์กรในการแปลจากกลยุทธ์ให้เป็นการปฏิบัติ โดยเริ่มต้นที่วิสัยทัศน์ ภารกิจ และกลยุทธ์ขององค์กรซึ่งเป็นขั้นของการกำหนดปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จ และจากนั้นก็เป็นการสร้างดัชนีวัดความสำเร็จ (Key Performance Indicators) ขึ้นเพื่อเป็นตัวบ่งชี้ถึงเปาหมายและใช้วัดผลการดำเนินงานในส่วนที่สำคัญต่อกลยุทธ์

  18. BSC VS กพร. มิติลูกค้า มิติประสิทธิผล มิติกระบวน การภายใน มิติคุณภาพ บริการ มิติ การเงิน มิติ ประสิทธิภาพ วิสัยทัศน์ พันธกิจ มิติองค์กรเรียนรู้ มิติพัฒนาองค์กร

  19. มิติการประเมินผลฯ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ 4 ด้าน Internal Work Process Perspective Financial Perspective มิติที่ 1: มิติด้านประสิทธิผล ส่วนราชการแสดงผลงานที่บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายตามที่ได้รับงบประมาณมาดำเนินการ เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขต่อประชาชนตามแผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด มิติที่ 2: มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ส่วนราชการแสดงความสามารถในการปฏิบัติราชการเช่น การลดค่าใช้จ่าย และการลดระยะเวลาการให้บริการ เป็นต้น 70% 10% มิติที่ 3 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ส่วนราชการแสดงการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการในการให้บริการที่มีคุณภาพ สร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ มิติที่ 4: มิติด้านการพัฒนาองค์กร ส่วนราชการแสดงความสามารถในการเตรียมพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงขององค์กร เช่น การพัฒนาระบบฐานข้อมูล การบริหารคนและความรู้ในองค์กร เป็นต้น 10% 10% Customer Perspective Learning & Growth Perspective

  20. SWOT Analysis(การวิเคราะห์แข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค์) • เป็นการนำเอาหลักการรู้เขา รู้เรา มาทำการวิเคราะห์เพื่อนำมากำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) ขององค์การ

  21. ผู้เชี่ยวชาญการศึก ปฏิบัติการอันใด ย่อมไม่ผิดพลาด ดำเนินการยุทธ ย่อมไม่มีทางอับจน รู้เขา รู้เรา ชัยชำนะจักไม่พลาด หยั่งรู้ดินฟ้าอากาศ ชัยชนะจักสมบูรณ์แล ซุนวู นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

  22. วิสัยทัศน์(vision) ของกรมสรรพสามิต บูรณาการจัดเก็บภาษีที่มีมาตรฐาน โปร่งใส และเป็นธรรม ด้วยระบบงานที่ทันสมัย เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่ยั่งยืน

  23. สิ่งที่ต้องการให้ทำคือทำ SWOT ของสายตรวจปราบปราม เพื่อ • กำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) ของฝ่ายปราบปราม

  24. วิสัยทัศน์ บริษัทปูนซีเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) “เป็นผู้นำผลิตภัณฑ์ปูนซีเมนต์ ในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) “จะเป็นธนาคารชั้นนำในภูมิภาคเอเชีย”

  25. วิสัยทัศน์ของกิจการชั้นนำวิสัยทัศน์ของกิจการชั้นนำ โครงการ Apollo ของ NASA “To send a man on the moon before the Soviets” Canon Corporation “To beat Xerox”

  26. วิสัยทัศน์ของฝ่ายปราบปรามคือ?วิสัยทัศน์ของฝ่ายปราบปรามคือ?

  27. การจัดทำยุทธศาสตร์ของหน่วยงานการจัดทำยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน • วิเคราะห์สถานการขององค์กร ใช้ SWOT ANALYSIS คือการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค์ ขององค์กร เพื่อให้รู้ตัวตนของเรา คู่แข่ง และสภาพแวดล้อมขององค์กร • กำหนดสิ่งที่เราอยากให้องค์กรของเราเป็น VISION • กำหนดสิ่งที่เราจะต้องทำ (MISSION) เพื่อให้บรรลุสู่สิ่งที่เราอยากเป็น (VISION) • กำหนดวิธีการที่จะต้องทำ (STRATIGIC) หรือแผนงาน. โครงการต่าง ๆ • กำหนดเป้าหมาย ตัวชีวัด

  28. ตัวตนของเรา คู่แข่ง

  29. ระดับองค์กร จุดมุ่งหมาย แผน จุดมุ่งหมาย แผน องค์กร วิสัยทัศน์ พันธกิจ กรม ยุทธศาสตร์ / กลยุทธ์ เป้าหมาย ยุทธวิธี / กลวิธี สำนัก / กอง วัตถุประสงค์ ยุทธการ / กิจกรรม กลุ่ม / ฝ่าย นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

More Related