1 / 69

การดูแลผู้ป่วยในห้องพักฟื้น

การดูแลผู้ป่วยในห้องพักฟื้น. พญ . กนกพร คุณาวิศรุต ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาวะแทรกซ้อน ห้องผ่าตัด 71 % หอผู้ป่วย 10 % ห้องพักฟื้น 9 %. ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น.

Mercy
Download Presentation

การดูแลผู้ป่วยในห้องพักฟื้น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดูแลผู้ป่วยในห้องพักฟื้นการดูแลผู้ป่วยในห้องพักฟื้น พญ.กนกพร คุณาวิศรุต ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี

  2. ภาวะแทรกซ้อน • ห้องผ่าตัด 71% • หอผู้ป่วย 10% • ห้องพักฟื้น 9%

  3. ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น • ปัญหาจากการใช้ยาระงับความรู้สึก: ผลหลงเหลือของยาะงับความรู้สึก ยาหย่อนกล้ามเนื้อ ผลกระทบจากวิธีการให้ยาระงับความรู้สึก • ปัญหาจากการผ่าตัด: ความปวด เลือดออกจากแผลผ่าตัด water intoxication จาก irrigation fluid ในการทำ TURP , gas embolism จากการผ่าตัดส่องกล้อง • ปัญหาจากโรคประจำตัวของผู้ป่วย

  4. ผู้ดูแลผู้ป่วยหลังการให้ยาระงับความรู้สึกจะมีหน้าที่ เฝ้าระวัง ประคับประคอง และ แก้ไขปัญหาที่เกิดแก่ผู้ป่วยในระยะฟื้นตัวจนกว่าผู้ป่วยจะคืนสู่สภาพเดิมเหมือนก่อนมารับยาระงับความรู้สึกและผ่าตัด

  5. ความรู้เบื้องต้น • ผลกระทบจากการหลงเหลือของยาระงับความรู้สึกและยาเสริม • ผลกระทบจากการผ่าตัด • การเฝ้าระวังสังเกตอาการ อาการแสดงทางคลีนิคของปัญหาแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยและการช่วยเหลือ • เกณฑ์รับรองความปลอดภัยก่อนส่งผู้ป่วยออกจากห้องพักฟื้น หรือก่อนส่งผู้ป่วยกลับบ้าน

  6. ห้องพักฟื้น (Postanesthesia care unit: PACU) • ใกล้ห้องผ่าตัด • ใกล้หออภิบาลผู้ป่วยหนัก • ใกล้หน่วยปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ต่างๆและหน่วยถ่ายภาพรังสี • ห้องแยกสำหรับผู้ป่วยติดเชื้อ

  7. ห้องพักฟื้น (Postanesthesia care unit: PACU) • จำนวนเตียงที่พอเหมาะต่อห้องผ่าตัด 1.5:1 ถึง 2:1 • พยาบาลดูแลผู้ป่วย อัตรา 1:2 • ปัญหาที่พบได้ในห้องพักฟื้น : การดูแลทางเดินหายใจ การบำบัดด้วยออกซิเจน การบำบัดความปวด การดูแลแผลผ่าตัด การดูแลสายระบายและสายสวน (drain, catheter) การกู้ชีพ • ประสานงานระหว่างวิสัญญีแพทย์และศัลยแพทย์

  8. อุปกรณ์ที่จำเป็น • อุปกรณ์เฝ้าระวัง: NIBP , pulse oximeter , EKG ปรอทวัดอุณหภูมิกาย • อุปกรณ์กู้ชีพ: laryngoscope , endotracheal tube ขนาดต่างๆ self-inflating bag , nasal airway, oral airway , defibrillator • อุปกรณ์ให้ความอบอุ่นผู้ป่วย:forced-air-warmer heating lamp ,warming blanket

  9. อุปกรณ์ที่จำเป็นในห้องพักฟื้นอุปกรณ์ที่จำเป็นในห้องพักฟื้น • ยาที่จำเป็น: ยาระงับปวด ยาแก้คลื่นไส้อาเจียน ยาต้านฤทธิ์ยาหย่อนกล้ามเนื้อ ยาต้านฤทธิ์อนุพันธ์ฝิ่น (opioid) ยากู้ชีพ เช่น adrenaline , atropine • อุปกรณ์อื่นๆ: ออกซิเจนพร้อมอุปกรณ์ , suction เครื่องให้ยาระงับความรู้สึก

  10. การส่งต่อและการให้ข้อมูลผู้ป่วยการส่งต่อและการให้ข้อมูลผู้ป่วย • ข้อมูลก่อนผ่าตัด: โรคประจำตัว ประวัติแพ้ยา ยาที่ผู้ป่วยใช้ประจำยาที่ได้รับก่อนผ่าตัด • ข้อมูลขณะผ่าตัด: ชนิดการผ่าตัดและการระงับความรู้สึก ปัญหาที่เกิดขึ้น การเสียเลือด ชนิดและปริมาณสารน้ำที่ให้ ปริมาณปัสสาวะ ยาที่ได้รับที่ควรทราบ เช่น ยาขับปัสสาวะ ยาตีบหลอดเลือด

  11. การส่งต่อและการให้ข้อมูลผู้ป่วยการส่งต่อและการให้ข้อมูลผู้ป่วย • ข้อมูลหลังผ่าตัดกรณีที่ต้องการเน้นให้ระวังเป็นพิเศษ: ทางเดินหายใจและลักษณะการหายใจ ชีพจรและความดันเลือด ระดับความรู้สึกตัว catheter เช่น epidural catheter ,Swan-Ganz catheter • ในกรณีที่สภาพผู้ป่วยไม่คงที่ มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ อาจบอกแนวทางสัญญาณชีพที่ยอมรับได้ ปริมาณปัสสาวะและการเสียเลือดที่ยอมรับได้ และสามารถตามแพทย์ได้ที่ใด

  12. แนวทางการดูแลผู้ป่วยใน PACU 1. รับผู้ป่วย สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับผู้ป่วย 2. ให้ oxygen nebulizer 3. วัด vital sign ทุก 5 นาที นานอย่างน้อย 30 นาที 4. วัด oxygen saturation ตลอดเวลา ลงบันทึกทุก 10 นาที 5. สังเกตการหายใจ 6. ประเมินและให้คะแนน PACU discharge score 7. Nursing care: ดูแผลผ่าตัด , สาย IV , สายสวนปัสสาวะ 8. รายงานแพทย์เมื่อมีปัญหา • บันทึกผลการสังเกต vital sign และเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้อง • ติดต่อญาติ แจ้งข้อมูลเท่าที่จำเป็น เพื่อลดความกังวล

  13. ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้ในห้องพักฟื้นภาวะแทรกซ้อนที่พบได้ในห้องพักฟื้น • ภาวะแทรกซ้อนทางระบบหายใจ • ภาวะแทรกซ้อนทางระบบไหลเวียนเลือด • ภาวะแทรกซ้อนทางไต • ภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ

  14. ภาวะแทรกซ้อนทางระบบหายใจภาวะแทรกซ้อนทางระบบหายใจ • พบได้บ่อยถึง 2 ใน 3 ของภาวะแทรกซ้อนทั้งหมด • ปัจจัยเสี่ยง อายุมากกว่า 60 ปี เพศชาย อ้วน ผ่าตัดฉุกเฉิน ผ่าตัดนานเกิน 4 ชั่วโมง ได้รับอนุพันธ์ฝิ่นหรือยานอนหลับชนิดมีฤทธิ์นาน หรือขนาดค่อนข้างมาก

  15. ภาวะแทรกซ้อนทางระบบหายใจภาวะแทรกซ้อนทางระบบหายใจ • ทางเดินหายใจอุดกั้น (Airway obstruction) • หายใจไม่พอ(Hypoventilation) • ปัญหาเกี่ยวกับพยาธิสภาพที่เนื้อปอด : pulmonary edema atelectasis , aspiration pneumonitis , pneumothorax

  16. ทางเดินหายใจอุดกั้น (Airway obstruction) เสมหะหรือลิ้นและเนื้อเยื่ออ่อนตกไปปิด glottis สาเหตุอื่นๆ : • Laryngospasm • Laryngeal edema • ก้อนเลือดกดทับทางเดินหายใจจากภายนอก : thyroid , neck surgery , carotid endarterectomy • Vocal cord paralysis : thyroid and parathyroid

  17. ทางเดินหายใจอุดกั้น (Airway obstruction) • Paradoxical breathing : หายใจเข้าทรวงอกจะยุบลงขณะที่ท้องโป่ง • suprasternal notch และซี่โครงบุ๋ม • Negative pulmonary edema

  18. ทางเดินหายใจอุดกั้น (Airway obstruction) การรักษา • ดูดเสมหะในปากและคอ จนเสียงหายใจดีขึ้น • จัดท่าผู้ป่วยนอนตะแคง • เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง : chin lift , jaw thrust • oropharyngeal airway , nasopharyngeal airway แล้วแต่กรณี

  19. ทางเดินหายใจอุดกั้น (Airway obstruction) การรักษา • Laryngeal edema : dexamethasone 5-10 มก. • Laryngeal spasm: positive pressure ventilationsuccinylcholine 0.5 - 1 มก./กก. V • Postintubation croup : nebulized racemic epinephrine

  20. ปัญหาที่เกิดขึ้นทุกกรณี ถ้าเปิดทางเดินหายใจให้โล่งด้วยวิธีดังกล่าวไม่ได้ หรือต้องช่วยตลอดเวลา ให้พิจารณาใส่ท่อทางเดินหายใจเข้าไปใหม่ คอยจนผู้ป่วยฟื้นตัวจึงถอดท่อทางเดินหายใจ

  21. หายใจไม่พอ (Hypoventilation) • ศูนย์หายใจถูกกด: ยาระงับความรู้สึกที่มีฤทธิ์หลงเหลือ • กล้ามเนื้อหายใจอ่อนแรง:การผ่าตัดช่องอกหรือช่องท้องส่วนบน อ้วน ท้องอืด ผลหลงเหลือของยาหย่อนกล้ามเนื้อ • พยาธิสภาพของปอดโดยตรง เช่น หลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง (chronic bronchitis, emphysema ) scoliosis

  22. พยาธิสภาพที่เนื้อปอด Pulmonary edema • Cardiogenic pulmonary edema : หัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว ลิ้นไมตรัลตีบ ได้รับสารน้ำมากไปหรือเร็วไปจนหัวใจปรับตัวไม่ได้ • Non cardiogenic pulmonary edema: ปอดอักเสบจากการสำลัก ติดเชื้อในกระแสเลือดระดับอัลบูมินในเลือดต่ำ negative interstitial pressure สูงขึ้นจากผู้ป่วยหายใจเร็ว

  23. Pulmonary edema • หายใจเร็ว หอบเหนื่อย ชีพจรเต้นเร็ว ไอมีเสมหะเป็นฟองสีชมพู • crepitation • ในรายที่เกิดจาก cardiogenic pulmonary edema อาจตรวจพบหลอดเลือดดำที่คอโป่ง นอนราบไม่ได้ ฟังเสียงหัวใจจะได้ยินเสียง S3 gallop

  24. Pulmonary edema การรักษา • ให้การบำบัดด้วยออกซิเจน • หาปัจจัยชักนำ • ปรึกษาวิสัญญีแพทย์เพื่อพิจารณาให้ยาขับปัสสาวะ ยากระตุ้นหัวใจ ยาขยายหลอดเลือด

  25. ปอดแฟบ (Atelectasis) • หลังการผ่าตัดช่องอกและช่องท้องส่วนบน การใส่ท่อทางเดินหายใจลึกลงปอดข้างเดียว • VC ลดลงจนน้อยกว่า 15 มล./กก. จะทำให้ผู้ป่วยไอไม่แรงพอที่จะเอาเสมหะออกมาได้ มีเสมหะอุดกั้นในหลอดลม

  26. ปอดแฟบ (Atelectasis) การรักษา: ให้การบำบัดเพื่อให้ปอดขยายตัว • sustained maximal inspiration(SMI) therapy • incentive spirometer • intermittent positive pressure breathing : IPPB • continuous positive airway pressure ( CPAP) • ให้ละอองไอน้ำเพื่อลดความเหนียวของเสมหะ บำบัดความปวดอย่างเหมาะสม

  27. ปอดอักเสบจากการสำลัก (Aspiration pneumonitis) • pH<2.5 และปริมาณ >0.4 มล./กก. • หายใจเร็ว หอบเหนื่อย wheeze,rales , rhonchi • ออกซิเจน • ผู้ป่วยต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดอย่างน้อยสองชั่วโมงหลังผ่าตัด และต้องเฝ้าระวัง ติดตามการดำเนินของโรคที่หอผู้ป่วย • ให้ยาปฏิชีวนะเมื่อมีหลักฐานการติดเชื้อ • steroid และการทำ pulmonary lavage ยังไม่มีหลักฐานยืนยันว่าได้ประโยชน์

  28. ลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pneumothorax) • ใส่สายสวนหลอดเลือดดำ subclavian และ internal jugular • Intercostal nerve block • Tracheostomy , retroperitoneal surgery • การเจาะปอดตัดชิ้นเนื้อเพื่อส่งตรวจ

  29. ลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pneumothorax) • ผู้ป่วยบ่นแน่นอึดอัดหน้าอก เจ็บหน้าอกหรือเจ็บร้าวไปไหล่ หายใจหอบ • เสียงหายใจเบาลงและเคาะโปร่ง หลอดลมอาจเบี้ยวไปด้านตรงข้าม • Tension pneumothorax อาจไปกดเบียดหัวใจและหลอดเลือด ผู้ป่วยจะหอบมาก ชีพจรเต็นเร็ว ความดันเลือดตก และอาจเสียชีวิตถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือ

  30. ลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pneumothorax) • ให้การบำบัดดัวยออกซิเจนด้วยวิธีที่เหมาะสมกับความรุนแรงของโรค • Intercostal drainage ถ้ามีปริมาณลมมากกว่าร้อยละ 15-20 หรือผู้ป่วยมีอาการ

  31. การบำบัดด้วยออกซิเจน เมื่อมีปัญหาทางระบบทางเดินหายใจ ความรุนแรงของโรคจะขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการเกิด hypoxemia และเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ อุปกรณ์ : nasal cannula aerosal mask ผ่าน nebulizer mask with bag

  32. การบำบัดด้วยออกซิเจน พึงระลึกไว้ว่าการให้ออกซิเจนเป็น การรักษาแบบประคับประคองเท่านั้น สาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยขาดออกซิเจน จะต้องได้รับการวินิจฉัยและแก้ไขไปพร้อมกัน

  33. ภาวะแทรกซ้อนทางระบบไหลเวียนเลือดภาวะแทรกซ้อนทางระบบไหลเวียนเลือด • ความดันเลือดตก (Hypotension) • ความดันเลือดสูง (Reactive hypertension) • หัวใจเต้นผิดจังหวะ (Cardiac dysrhythmia)

  34. ความดันเลือดตก (Hypotension) • ความดันเลือดลดลงมากกว่าร้อยละ20 • สับสน หัวใจเต้นเร็ว ปัสสาวะออกน้อย • ภาวะแทรกซ้อน เช่น ไตวาย กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด โดยเฉพาะผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง

  35. ความดันเลือดตก (Hypotension) • Inadequate venous return: hypovolemia พบได้บ่อยที่สุด การให้สารน้ำไม่เพียงพอระหว่างผ่าตัด เลือดซึมจากแผลผ่าตัด การสูญเสียสารน้ำใน 3rd space • Systemic vascular resistance ลดลงเช่น ผลหลงเหลือของยาระงับความรู้สึกทั่วตัว ยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ หลังได้รับยาระงับปวด ผู้ป่วยที่มีอุณหภูมิกายต่ำความดันเลือดอาจตกได้เมื่อให้ความอบอุ่น • ผู้ป่วยได้รับยาขยายหลอดเลือด เช่น NTG ,calcium channel blockers , ACEI ,α-adrenergic blockers

  36. ความดันเลือดตก (Hypotension) • ผู้ป่วยที่ช่วยหายใจด้วยความดันบวก (positive pressure ventilation) • สาเหตุอื่น : tension pneumothorax , cardiac temponade ความผิดปกติของหัวใจ เช่น หัวใจล้มเหลว กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หัวใจเต้นผิดจังหวะ

  37. ความดันเลือดตก (Hypotension) การรักษา • isotonic crystalloid (0.9% normal saline ,balanced salt solution) • colloid/ crystalloid • fluid challenge test

  38. ความดันเลือดสูงขณะฟื้นจากยาระงับความรู้สึก ( Reactive hypertension) • systolic หรือ diastolic สูงกว่าเดิมมากกว่าร้อยละ20 • hypertensive emergency • ปวดศีรษะ ตามัว เจ็บหน้าอก • ภาวะแทรกซ้อน : เลือดออกในสมอง หัวใจล้มเหลว กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด เพิ่มความดันกะโหลกศีรษะและความดันลูกตา

  39. ความดันเลือดสูงขณะฟื้นจากยาระงับความรู้สึก ( Reactive hypertension) • ภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ คาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูง ปวดแผลผ่าตัด ปวดปัสสาวะ วิตกกังวล • การรักษา แก้ไขตามสาเหตุ ให้ยาระงับปวด , ยาคลายกังวล ใส่สายสวนปัสสาวะ ให้ปรึกษาแพทย์เพื่อพิจารณาให้ยาลดความ ดันเลือด : labetalol esmolol hydralazine nicardepine

  40. หัวใจเต้นผิดจังหวะ (Cardiac dysrhythmia) • sinus tachycardia , sinus bradycardia , ventricular premature beats , ventricular tachycardia , supraventricular tachycardia • สาเหตุ : ยา (prostigmine, atropine) ออกซิเจนในเลือดต่ำ คาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูง ปวดแผลผ่าตัด เกลือแร่ไม่สมดุลย์ metabolic alkalosis , metabolic acidosis ผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจอยู่เดิม

  41. หัวใจเต้นผิดจังหวะ (Cardiac dysrhythmia) • ถ้าพบหัวใจเต้นช้าลงร่วมกับความดันเลือดตกหลังได้ prostigmine และatropine ให้ atropine ซ้ำได้อีกหนึ่งครั้งจนชีพจรเป็นปกติ • ควรวินิจฉัยแยกให้ได้ว่าสาเหตุที่หัวใจเต้นเร็วไม่ได้เป็นอาการจากภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ • dysrhythmia ชนิดอื่นให้ปรึกษาแพทย์เพื่อหาสาเหตุ และพิจารณาให้antiarrhythmic drug

  42. ภาวะแทรกซ้อนทางไต • ปัสสาวะออกน้อย (Oliguria) • ปัสสาวะออกมาก (Polyuria)

  43. ปัสสาวะออกน้อย (Oliguria) • 0.5-1 มล./กก./ชม. • มักเกิดจากการให้สารน้ำไม่เพียงพอ • สายสวนปัสสาวะไม่พับหักงอหรือมีลิ่มเลือดอุดตัน • crystalloid (0.9% normal saline หรือ balanced salt solution)

  44. ปัสสาวะออกมาก (Polyuria) • ได้รับยาขับปัสสาวะ การให้สารน้ำมากเกินไป หรือผู้ป่วยเบาหวานซึ่งน้ำตาลในเลือดสูง เกิดอันตรายที่ต่อม pituitaryในผู้ป่วยที่มีอุบัติเหตุทางสมอง • การรักษา ให้วัดจำนวนปัสสาวะต่อชั่วโมงและทดแทนให้เหมาะสม รักษาความดันเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ และปรึกษาแพทย์เพื่อหาสาเหตุและรักษาต่อไป

  45. ภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ • คลื่นไส้อาเจียน (Nausea vomiting) • อุณหภูมิกายเย็น (Hypothermia) • ปฏิกิริยาขณะฟื้นจากยาระงับความรู้สึกทั่วตัว (Emergence reaction) • ตื่นช้า(Delayed emergence) • ความปวด

  46. คลื่นไส้อาเจียน (Nausea vomiting) • อุบัติการณ์ร้อยละ 10-30 • แผลผ่าตัดแยก สมดุลย์เกลือแร่ผิดปกติ เพิ่มความดันกะโหลกศีรษะและความดันลูกตา เพิ่มความเสี่ยงการสำลักอาหารเข้าปอด จำหน่ายผู้ป่วยได้ช้าและความพึงพอใจของผู้ป่วยลดลง

  47. คลื่นไส้อาเจียน (Nausea vomiting) ปัจจัยเสี่ยง • ผู้ป่วย: อายุน้อย เพศหญิง อ้วน ไม่สูบบุหรี่ มีประวัติเมารถเมาเรือ ประวัติคลื่นไส้อาเจียนจากการระงับความรู้สึกในอดีต • การผ่าตัด: การผ่าตัดแก้ตาเข ผ่าตัดหูชั้นกลาง ผ่าตัดในช่องท้อง ผ่าตัดส่องกล้อง ผ่าตัดอัณฑะ • การระงับความรู้สึก: GA ยากลุ่มอนุพันธ์ฝิ่น ,ketamine • ปัจจัยที่เกิดหลังผ่าตัดและปัจจัยอื่นๆ:   ความกลัว ความปวด ภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ น้ำตาลในเลือดต่ำ การให้สารน้ำไม่เพียงพอ ความดันเลือดต่ำ

  48. Serotonin antagonist :ondansetron dolasetron • Benzamide :metoclopramide • Dexamethasone • Phenothiazines :prochlorperazine • Antihistamines :dimenhydrinate • Anticholinergic :transdermal scopolamine • Butyrophenones :droperidol

  49. อุณหภูมิกายเย็น (Hypothermia) • ห้องผ่าตัด ยาระงับความรู้สึกทำให้หลอดเลือดขยายตัว การให้สารน้ำและเลือดระหว่างผ่าตัด เสียความร้อนทางการหายใจ • shivering กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด (ischemia) หัวใจล้มเหลว • วิธีป้องกัน • อุ่นสารน้ำและเลือด • อุปกรณ์ให้ความอบอุ่นผู้ป่วย : forced-air-warmer circulating water mattress • ไม่แนะนำให้ใช้ผ้าห่มไฟฟ้าวางใต้ผู้ป่วย • pethidine

  50. ปฏิกิริยาขณะฟื้นจากยาระงับความรู้สึกทั่วตัว (Emergence reaction) • สับสน วุ่นวาย กระสับกระส่าย • ผู้ป่วยเด็ก sevoflurane และไม่ได้อนุพันธ์ฝิ่นมาก่อน ยา ketamine • อาจเกิดจากความปวด การคาสายสวนปัสสาวะ กระเพาะปัสสาวะโป่งตึง ท้องอืด

More Related