1 / 63

Medication

Medication. Management System. MMS. ระบบการจัดการด้านยา. ภญ . มาศรินทร์ ธรรมสิทธิ์บูรณ์ งานเภสัชสนเทศและพัฒนาระบบยา. Medication Management System. การวางแผนและการจัดการ การเก็บสำรองยา การสั่งใช้ยาและถ่ายทอดคำสั่ง การทบทวนคำสั่ง เตรียมและจัดจ่าย/ส่งมอบยา การบริหารยาและติดตามผล.

Rita
Download Presentation

Medication

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Medication Management System MMS ระบบการจัดการด้านยา ภญ. มาศรินทร์ ธรรมสิทธิ์บูรณ์ งานเภสัชสนเทศและพัฒนาระบบยา

  2. Medication Management System • การวางแผนและการจัดการ • การเก็บสำรองยา • การสั่งใช้ยาและถ่ายทอดคำสั่ง • การทบทวนคำสั่ง เตรียมและจัดจ่าย/ส่งมอบยา • การบริหารยาและติดตามผล

  3. ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ต่างๆความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ต่างๆ

  4. Medication Error & Reporting System

  5. MMS ความคลาดเคลื่อนทางยา เป็นประเด็นคุณภาพ และเป็นตัวชี้วัด ของรพ. สะท้อนเรื่องความปลอดภัยในกระบวนการใช้ยา ความคลาดเคลื่อนทางยา....................... “ ไม่ใช่เพียงความคลาดเคลื่อน แต่เป็นความผิดพลาด” “นำไปสู่ การสูญเสีย ชีวิต เวลา ค่าใช้จ่ายในการรักษา” “ เกิดขึ้นได้ซ้ำๆ หากขาดความตระหนักของบุคลากร” **** รพ. ต้องสนใจ ต้องมีทีมสหวิชาชีพ ****** เพื่อจัดระบบการค้นหา เฝ้าระวัง รายงาน หาวิธีแก้ไข และป้องกัน

  6. MMS ความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication Error) เหตุการณ์ใดๆที่สามารถป้องกันได้ ที่อาจเป็นสาเหตุหรือนำไปสู่การใช้ยาไม่เหมาะสม หรือเป็นอันตรายแก่ผู้ป่วย ในขณะที่ยาอยู่ในความควบคุมของบุคลากรสาธารณสุข ผู้ป่วย หรือผู้รับบริการ เหตุการณ์เหล่านั้นอาจเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติทางวิชาชีพ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ กระบวนการ และระบบซึ่งรวมถึงการสั่งใช้ยา การสื่อสารคำสั่งใช้ยา การติดฉลาก การบรรจุยา การตั้งชื่อยา การเตรียมยา การส่งมอบยา การกระจายยา การให้ยา การให้ข้อมูล การติดตามและการใช้ยา

  7. MMS ประเภทความคลาดเคลื่อนทางยา • ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา(Prescribing Error) • ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคำสั่งใช้ยา(Transcribing Error) • ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา(Dispensing Error) • ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา(Administration Error)

  8. MMS Prescribing Error การเลือกใช้ยาผิด(โดยใช้หลักการเลือกยาตามข้อบ่งใช้ ข้อห้ามใช้ ประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วย ยาอื่นๆที่ผู้ป่วยใช้อยู่ การสั่งใช้ยาซ้ำซ้อน การสั่งใช้ยาที่เกิดปฏิกิริยาระหว่างกัน และปัจจัยอื่นๆ) การเลือกขนาดยาผิด การเลือกรูปแบบยาผิด การสั่งยาในจำนวนที่ผิด การเลือกวิถีทางให้ยาผิด การเลือกความเข้มข้นของยาผิด การเลือกอัตราเร็วในการให้ยาผิด หรือการให้คำแนะนำในการให้ยาผิด การสั่งใช้ยาผิดตัวผู้ป่วย หรือการไม่ระบุชื่อยา ความแรง ความเข้มข้น ความถี่ของการใช้ยา ที่ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนที่ส่งผลถึงผู้ป่วย

  9. MMS Transcribing Error ความคลาดเคลื่อนของการส่งต่อหรือถ่ายทอดข้อมูลคำสั่งใช้ยา โดยผ่านบุคคลกลางต่างวิชาชีพ อาจเป็นการคัดลอกคำสั่งใช้ยาจากคำสั่งใช้ยาต้นฉบับที่ผู้สั่งใช้ยาเขียนหรือการรับคำสั่งทางวาจา โดยแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ไม่ได้คัดลอก และคัดลอกผิด

  10. MMS Dispensing Error ความคลาดเคลื่อนในกระบวนการจ่ายยาของฝ่ายเภสัชกรรม ที่จ่ายยาไม่ถูกต้องตามที่ระบุในคำสั่งใช้ยา ได้แก่ผิดชนิดยา รูปแบบยา ความแรงของยา ขนาดยา วิธีใช้ยา จำนวนยาที่สั่งจ่าย จ่ายผิดตัวผู้ป่วย จ่ายยาที่เสื่อมสภาพหรือหมดอายุ จ่ายยาที่ไม่มีคำสั่งใช้ยา (Unauthorized drug)เตรียมยาผิด เช่นเจือจาง/ผสมผิด ใช้ภาชนะบรรจุยาไม่เหมาะสม ฉลากผิด ชื่อยาผิด หรือชื่อผู้ป่วยผิด เป็นเหตุการณ์หลังจากจ่ายยาออกจากฝ่ายเภสัชกรรม

  11. MMS Administration Error เกิดในขั้นตอนการให้ยาแก่ผู้ป่วยภายในโรงพยาบาล (ไม่รวมที่เกิดจากผู้ป่วยใช้ยาเองที่บ้าน) โดยเป็นผลให้ไม่เป็นไปตามหลักการให้ยาที่ถูกต้อง 6R รวมทั้งการที่ผู้ป่วยไม่ได้รับยาตามที่แพทย์สั่ง หรือได้รับยาที่ไม่ได้อยู่ในคำสั่งแพทย์

  12. MMS ประเภทของAdministration Error • การตัดสินใจทางคลินิกก่อนให้ยาและการเตรียมยา • การให้ยา • หลังการให้ยา แบ่งตามขั้นตอน ดังนี้

  13. MMS Dispensing ก่อน Administration • การตัดสินใจทางคลินิกก่อนให้ยาและการเตรียมยา • การให้ยาที่ทราบว่าแพ้ • การให้ยาที่มีปฏิกิริยาระหว่างกันของยา • การเตรียมยา

  14. MMS • การให้ยาไม่ครบ(omission error) • * ยกเว้น ผป. สมัครใจ หรือได้ข้อมูลว่าไม่ควรใช้ • การให้ยาผิดชนิด (wrong drug error) • การให้ยาที่ผู้สั่งใช้ยาไม่ได้สั่ง(unauthorized drug) • การให้ยา

  15. MMS • การให้ยา(ต่อ) • การให้ยาผิดคน(wrong patients) • การให้ยาผิดขนาด (wrong dose error) • * การกำหนดช่วงความต่าง ขึ้นกับชนิดของยา • การให้ยาผิดวิถีทาง(wrong route error) • * รวมผิดตำแหน่งที่ให้ยา

  16. MMS • การให้ยาผิดเวลา(wrong time error) • การให้ยามากกว่าจำนวนครั้งที่สั่ง (extra dose error) • * รวมทั้งให้ยาที่สั่ง off แล้ว หรือชะลอการใช้ • การให้ยาผิดเทคนิค • อัตราเร็วที่ผิด (wrong rate of administration error) • การให้ยาในอุปกรณ์ที่ไม่เหมาะสม • อื่นๆ • การให้ยา(ต่อ)

  17. ระยะเวลาที่ผู้ป่วยควรได้รับยาระยะเวลาที่ผู้ป่วยควรได้รับยา • Emergencyควรได้รับยาหลังจากแพทย์สั่งยาทันที • Statdoseควรได้รับยาภายในเวลา 30 นาที • Definition (เฉพาะยาเร่งด่วน ฉุกเฉิน /ไม่ใช่ Loadingdose) • กำหนดรายการยา-ข้อบ่งใช้สำหรับ Stat order • General • ควรได้รับยา dose แรกหลังแพทย์สั่งภายในเวลา.....ชม. • เวลาที่ถือว่าคลาดเคลื่อน ต้องนิยามที่ชัดเจน • มาตรฐานรอบเวลาการให้ยา

  18. MMS • การให้ยา(ต่อ) • การให้ยาผิดรูปแบบ (wrong dosage form error)

  19. MMS • หลังให้ยา ขาดการติดตามผล หรืออาการผิดปกติ จากการให้ยา เช่น • อาการอันไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา • ผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้ยาแต่จำเป็นต้องใช้ยานั้น

  20. ผลลัพธ์ต่อผู้ป่วย

  21. กรณีศึกษา 1 PE • คำสั่งใช้ยาไม่ครบถ้วน • การรับคำสั่งใช้ยาด้วยวาจา • ขาดการทบทวน/ตรวจสอบคำสั่งใช้ยา AE ระดับความรุนแรง : I

  22. กรณีศึกษา 2 PE ? • ได้ยาผิดชนิด • ผู้ป่วยไม่ได้รับยาที่ควรได้รับ • การให้ยาที่แพ้/มีประวัติแพ้ DE ระดับความรุนแรง : F

  23. อุปสรรคของการดำเนินงานเพื่อป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาอุปสรรคของการดำเนินงานเพื่อป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยา ความซับซ้อนและขาดความเป็นเจ้าของ ขาดข้อมูลความคลาดเคลื่อนทางยา ความเคยชินการทำงานรูปแบบเดิม และไม่ยอมรับความเปลี่ยนแปลง ความเกรงกลัวต่อการถูกลงโทษ *** MMS

  24. MMS Medication Error Reporting Systemโรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ผู้พบเหตุ บันทึกเหตุการณ์ในแบบฟอร์มรายงานความคลาดเคลื่อนทางยา ส่งแบบฟอร์มรายงานฯไปให้ห้องยา เภสัชกรรวบรวมรายงานบันทึกลงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รายงานสรุปประจำเดือน PTC ศูนย์ความเสี่ยง คณะกก.บริหาร คณะกก.ความปลอดภัยด้านยา กลุ่มงานเภสัชกรรม องค์กรแพทย์ ฝ่ายการพยาบาล PCT

  25. แบบรายงาน Medication error

  26. แบบรายงาน Administration error

  27. การแก้ไขและป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาการแก้ไขและป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยา สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน มีระบบรายงานความคลาดเคลื่อน จัดตั้งคณะทำงานด้านความปลอดภัยในการใช้ยา MMS

  28. หลักการ 6R ชนิดความคลาดเคลื่อนทางยา และแนวทางแก้ไข

  29. The More You Know The Less Med. Error

  30. MMS High-Alert Medication Management(การจัดการยาที่ต้องระวังเป็นพิเศษ)

  31. MMS High-Alert Drug คำจำกัดความ ยาที่มีความเสี่ยงสูงที่จะก่อให้เกิดอันตรายรุนแรงกับผู้ป่วยอย่างมีนัยสำคัญ หรือทำให้เสียชีวิตหากมีการใช้อย่างคลาดเคลื่อน ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นอาจเกิดขึ้นบ่อยหรือไม่บ่อยนัก หากแต่ผลที่เกิดขึ้นตามมาก่อให้เกิดความสูญเสียอย่างมาก

  32. MMS ทำไม....ต้องมีการจัดการ HAD • ความปลอดภัยของผู้ป่วย • ปกป้องเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน • ปฏิบัติตามแนวทาง SIMPLE ของ HA

  33. MMS แนวทางการกำหนดรายการยาที่ต้องระวังพิเศษ • Institute for Safe Medication Practice (ISMP) Version 2008 • กำหนดตามรายงานอุบัติการณ์ของโรงพยาบาล • Medication Error • RM

  34. MMS รายการยาที่ต้องระวังพิเศษ ปี 2550 • Dopamine inj. • NTG inj. • Adrenaline Inj. • Digoxin • Potassium Chloride inj. • Heparin • LMW heparin • Insulin • Morphine • Phenytoin • Chemotherapy ; • Endoxan • 5-FU • Methrotrexate • Diazepam Inj. • Sodium bicarbonate inj. • Magnesium sulfate Inj. • Warfarin

  35. MMS แนวทางการจัดการยาที่ต้องระวังพิเศษ • ในแต่ละกลุ่ม/ขนานไม่จำเป็นต้องเหมือนกัน • ขึ้นกับความเหมาะสมและสอดคล้องกับรายงานอุบัติการณ์ • สิ่งสำคัญคือ “การจัดการความรู้”

  36. แนวทางการจัดการกับยาที่ต้องระวังพิเศษแนวทางการจัดการกับยาที่ต้องระวังพิเศษ HAD Guideline & Monograph HAD warning tool

  37. MMS การจัดการเชิงระบบ • การวางระบบเพื่อลดโอกาสเกิดความคลาดเคลื่อน • การวางระบบเพื่อสร้างเงื่อนไขในการตรวจสอบความคลาดเคลื่อน • การจัดการเพื่อบรรเทาความรุนแรงของอุบัติการณ์

  38. MMS 1. การวางระบบเพื่อลดโอกาสเกิดความคลาดเคลื่อน • กำหนดนโยบายด้านยาที่เกี่ยวข้อง เช่นการระบุตัวผป. และชัดเจนในการส่งเสริมความปลอดภัยของระบบยา • ประกันด้านผลิตภัณฑ์ เน้นคุณลักษณะและความพร้อมในการบริการ ลดความซ้ำซ้อนของขานและรูปแบบ ผ่านคณะกก. PTC • แนวทางการปฏิบัติงานและสื่อสาร เน้นความเป็นมาตรฐานเดียวกัน ระบบการตรวจสอบซ้ำของบุคคล หลีกเลี่ยงการสื่อสารที่เอื้อให้เกิดความเสี่ยง • การให้มีและสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลวิชาการและข้อมูลผู้ป่วย

  39. MMS 1. การวางระบบเพื่อลดโอกาสเกิดความคลาดเคลื่อน (ต่อ) • การออกแบบระบบเพื่อลดการถ่ายทอดคำสั่งหลายๆทอด ทั้งในส่วนของแพทย์ผู้สั่งยากับห้องยา และการบริหารยาในหอผู้ป่วย • จำกัดการเข้าถึงยากลุ่มเสี่ยง • การสร้างความตระหนัก เช่นการ feedback อย่างสร้างสรรค์ การปฐมนิเทศ • ทบทวนอุบัติการณ์ แก้ปัจจัยสาเหตุ

  40. MMS 2. การวางระบบเพื่อสร้างเงื่อนไขในการตรวจสอบ • การเข้าถึงข้อมูลผป. ทั้งข้อมูลทั่วไปและการวินิจฉัยโรค • การให้มีและเข้าถึงแหล่งข้อมูลยาที่เป็นปัจจุบัน และง่ายต่อการนำไปใช้ • การตรวจสอบอิสระ • การสร้างจุดเด่นและข้อสังเกต+การทำให้เกิดแรงจูงใจอย่างต่อเนื่อง • การนิเทศ กำกับ ควบคุม เน้นให้คำปรึกษามากกว่าบังคับบัญชา • ผู้ป่วยช่วยทวนสอบ เช่นผป.โรคเรื้อรัง

  41. 3. การจัดการเพื่อบรรเทาความรุนแรงของอุบัติการณ์ • ความพร้อมของยาฉุกเฉินหรือยาต้านพิษที่สำคัญ • ระบบที่เอื้อต่อการเข้าถึงแหล่งข้อมูลฉุกเฉินสำคัญ เช่นหน่วยงานที่ช่วยเหลือการส่งต่อ แหล่งข้อมูลพิษวิทยาการแก้ไขภาวะฉุกเฉินจากยา HAD • ความสามารถของทีมในการรับสถานการณ์ • ระบบรับสถานการณ์การที่มีความพร้อม ทดสอบระบบ หาจุดบกพร่อง และซักซ้อมอย่างต่อเนื่อง

  42. อุปสรรคของ HAD management • บุคลากรขาดความเข้าใจที่แท้จริงถึงความสำคัญของ HAD • ระบบที่กำหนดยังไม่รับการปฏิบัติจริง • ระบบที่กำหนดยังไม่สามารถตรวจสอบ/ระบุปัญหาที่เกิดได้ • ขาดความรู้สำคัญในยากลุ่ม HAD • ไม่มีการติดตามและทบทวนระบบ

  43. MMS Adverse Drug Reaction Management(การเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา)

  44. MMS คำนิยาม (WHO 1970) เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นโดยมิได้ตั้งใจและเป็นอันตรายต่อร่างกายมนุษย์และเกิดขึ้นเมื่อใช้ยาในขนาดปกติเพื่อการป้องกัน วินิจฉัย บรรเทา หรือบำบัดรักษาโรคหรือเพื่อเปลี่ยนแปลงแก้ไขการทำงานของอวัยวะในร่างกายมนุษย์โดยไม่รวมปฏิกิริยาที่เกิดจากการใช้ยาเกินขนาดโดยอุบัติเหตุหรือตั้งใจ ตลอดจนการใช้ยาในทางที่ผิด อุบัติเหตุ หรือจงใจใช้ยาเกินขนาดและผิดวิธี

  45. MMS Type A (augmented) ADR • ทำนายล่วงหน้าจากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา • อาการจะรุนแรงหรือไม่ ขึ้นอยู่กับขนาดยาและการตอบสนอง ของแต่ละบุคคล • อุบัติการณ์การเกิดสูง (>80%) แต่อัตราการตายต่ำ • แก้ไขโดยการลดขนาดยา หรือเปลี่ยนไปใช้ยาตัวอื่น ตย. • Toxicity of Overdose • Side effect** • Secondary effect • Drug Interaction

More Related