1 / 21

สรุปสถานการณ์การระบาด เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล

สรุปสถานการณ์การระบาด เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล. วันที่ 19-25 ตุลาคม 2553. สถานการณ์การระบาด. ได้รับรายงานสถานการณ์เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลจาก 17 จังหวัด ได้แก่ สุพรรณบุรี - พิจิตร - นนทบุรี เพชรบูรณ์ - ปทุมธานี - สิงห์บุรี เลย - ลพบุรี - เชียงราย

Download Presentation

สรุปสถานการณ์การระบาด เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปสถานการณ์การระบาดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลสรุปสถานการณ์การระบาดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล วันที่ 19-25 ตุลาคม 2553

  2. สถานการณ์การระบาด • ได้รับรายงานสถานการณ์เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลจาก 17 จังหวัด ได้แก่ • สุพรรณบุรี - พิจิตร - นนทบุรี • เพชรบูรณ์ - ปทุมธานี - สิงห์บุรี • เลย - ลพบุรี - เชียงราย • กาญจนบุรี - นครนายก - อุทัยธานี • ชัยนาท - นครสวรรค์ - พิษณุโลก • กำแพงเพชร - อ่างทอง ในสัปดาห์นี้ไม่พบการระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล แต่พบตัวเต็มวัยเล็กน้อยในบางจุดของพื้นที่ ไม่ทำความเสียหายแก่ข้าว

  3. ปัจจัยที่ทำให้การระบาดลดลงปัจจัยที่ทำให้การระบาดลดลง มีการรณรงค์ควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลโดยวิธีต่างๆ เช่น • การใช้เชื้อราบิวเวอเรีย และเมตตาไรเซียมฉีดพ่น • การใช้สารสกัดจากสะเดาฉีดพ่น • การใช้กับดักกาวเหนียวและแสงไฟล่อตัวเต็มวัย • การแนะนำให้เกษตรกรใช้สารเคมีอย่างถูกวิธี • พื้นที่ปลูกข้าวหลายพื้นที่ถูกน้ำท่วม เมตตาไรเซียม

  4. ข้าวนาปี การคาดการณ์ นาปรัง อพยพ อายุ 25-35 วัน ระยะแก่-เก็บเกี่ยว ตามลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ อาจจะพบการระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลบางพื้นที่ ในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึง ธันวาคม เนื่องจาก ● ช่วงเวลาดังกล่าวจะเริ่มปลูกข้าวนาปรัง ● เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลตัวเต็มวัยที่หลงเหลือจากการควบคุมจะอพยพออกจากแปลงนาข้าวที่แก่ - เก็บเกี่ยวไปตามลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อหาแหล่งอาหารและแหล่งอาศัยเพื่อขยายพันธุ์บริเวณข้าวนาปรัง (อายุ 25-35 วัน) ทางภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลาง ภาคตะวันตก และภาคตะวันออก

  5. การดำเนินงาน แนวทางควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลตัวเต็มวัย • แผนการเฝ้าระวัง จัดทำแปลงติดตามสถานการณ์ และจัดหน่วยเคลื่อนที่เร็ว เพื่อสำรวจติดตามสถานการณ์และถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกร • แผนการเตือนภัย เมื่อสำรวจพบเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลตัวเต็มวัย ให้ประกาศเตือนภัยทางหอกระจายข่าวและวิทยุท้องถิ่น เพื่อให้เกษตรกรเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด

  6. การดำเนินงาน (ต่อ) • แผนการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลตัวเต็มวัย (เริ่ม 21 ต.ค. 53) รณรงค์ควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลทั้งวิธีกลและฟิสิกส์ พร้อมกันทุกพื้นที่ โดยใช้กับดักกาวเหนียวและแสงไฟล่อ เพื่อตัดวงจรเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลตัวเต็มวัย • แผนการสนับสนุน สำนักงานเกษตรจังหวัดประสาน อบต. อบจ. และจังหวัด ขอสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์และงบประมาณในการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลต่อไป เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลที่จับได้

  7. รายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังรายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง

  8. รายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังข้อมูล ณ วันที่ 20 ตุลาคม 2553 สถานการณ์การระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง พบการระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง จำนวน 22,967 ไร่ ใน 12 จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี นครราชสีมา เพชรบูรณ์ จันทบุรี บุรีรัมย์ สกลนคร ชัยนาท ปราจีนบุรี หนองบัวลำภู ราชบุรี ชลบุรี และระยอง ตามลำดับ ซึ่งการระบาดลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา 13,016 ไร่

  9. ปัจจัยที่ทำให้การระบาดลดลงปัจจัยที่ทำให้การระบาดลดลง • ๑. เนื่องจากสภาพอากาศไม่เหมาะสมกับการระบาด ฝนตกชุกต่อเนื่อง ทำให้สภาพอากาศมีความชื้นสูง ปริมาณน้ำในดินมาก ๒. มีการสำรวจติดตาม และควบคุมโดยวิธีผสมผสาน เช่น ปล่อยแมลงช้างปีกใสและแตนเบียน มีการตัดยอดที่ถูกทำลาย การคาดการณ์เดือนพฤศจิกายนจะเป็นช่วงฤดูหนาวซึ่งเป็นสภาพเหมาะสมกับการระบาด

  10. การดำเนินงานแนวทางการควบคุมเพลี้ยแป้งการดำเนินงานแนวทางการควบคุมเพลี้ยแป้ง ๑). ให้เกษตรกรสุ่มสำรวจเพลี้ยแป้งในแปลงของตนเองอย่างต่อเนื่อง ๒.) หากสำรวจพบเพลี้ยแป้ง ในภาพอากาศที่มีความชื้นสูงให้ใช้เชื้อราบิวเวอเรียฉีดพ่น สภาพอากาศแห้งให้ปล่อยแมลงช้างปีกใส และแตนเบียนเพลี้ยแป้งสีชมพูควบคุม ๓.) แนะนำเกษตรกรที่จะปลูกมันสำปะหลังในเดือนตุลาคม 2553ให้แช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมีตามคำแนะนำของทางราชการก่อนปลูก ๔) ให้คณะกรรมการศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน ติดตาม รายงานและประสานงานกับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือกลุ่มเกษตรกรที่ผลิตขยายแตนเบียน แมลงช้างปีกใส และเชื้อจุลินทรีย์ เพื่อนำมาใช้ในการควบคุมเพลี้ยแป้งในพื้นที่ โดยแนะนำให้เกษตรกรแกนนำ ผลิตศัตรูธรรมชาติดังกล่าวใช้เอง และขยายผลสู่ชุมชนเพื่อป้องกันและกำจัดเพลี้ยแป้งอย่างยั่งยืน

  11. รายงานสถานการณ์การระบาดหนอนหัวดำรายงานสถานการณ์การระบาดหนอนหัวดำ

  12. รายงานสถานการณ์การระบาดของหนอนหัวดำมะพร้าวรายงานสถานการณ์การระบาดของหนอนหัวดำมะพร้าว และแมลงดำหนามมะพร้าว

  13. สถานการณ์การระบาด

  14. ปัจจัยที่ทำให้การระบาดเพิ่มขึ้นปัจจัยที่ทำให้การระบาดเพิ่มขึ้น 1) สภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง ก่อเกิดภาวะแห้งแล้งต่อเนื่อง 2) ต้นมะพร้าวอยู่ในสภาพที่ไม่สมบูรณ์ทำให้อ่อนแอต่อการเข้าทำลายและการขยายพันธุ์ 3) เกษตรกรขาดการดูแลรักษาและการจัดการที่ถูกต้อง

  15. การคาดการณ์ การระบาดมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีการเคลื่อนย้าย ต้นกล้ามะพร้าว และผลผลิตมะพร้าว ทำให้มีการขยาย พื้นที่ระบาดเดิมไปที่ใหม่

  16. วงจรชีวิตของหนอนหัวดำมะพร้าววงจรชีวิตของหนอนหัวดำมะพร้าว ระยะไข่ อายุ 5 - 7 วัน ระยะผีเสื้อ อายุ 4 - 14 วัน ระยะหนอน อายุ 32 - 48 วัน ระยะดักแด้ อายุ 9 - 11 วัน

  17. การทำลาย หนอนจะถักใยดึงใบมะพร้าวมาเรียงติดกันเป็นแพและสร้างอุโมงค์เป็นทางยาวอาศัยกัดกินใบอยู่ภายในอุโมงค์ อาการรุนแรงทำให้ต้นตายได้ เข้าดักแด้ในใบมะพร้าว

  18. การดำเนินงาน จัดทำโครงการควบคุมและกำจัดแมลงศัตรูมะพร้าว จ. ประจวบคีรีขันธ์ มี 2 มาตรการด้วยกัน 1 มาตรการเร่งด่วนมี 4 กิจกรรมได้แก่ 1. การตัดเผาทำลาย 2. การฉีดพ่นเชื้อ Bt. 3. การปล่อยแตนเบียนไข่ทริคโคแกรมมา 4. การสร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรให้มีการพึ่งพาตนเอง และมีส่วนร่วม 2 มาตรการระยะยาว มีการดำเนินการจัดตั้งศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน จำนวน 5 ศูนย์ ในอำเภอ หัวหิน, ปราณบุรี, กุยบุรี, เมือง, ทับสะแก

  19. การปีนขึ้นไปตัดทางใบ (ตีนหมี) การตัดโดยชักทางใบมะพร้าว

  20. การพ่นเชื้อ Bt โดยใช้เครื่องพ่นแรงดันสูง และการเผาทำลายทางมะพร้าว

  21. ขอบคุณ

More Related