1 / 44

เรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่

เรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่. ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ประเสริฐ ทองเจริญ ราชบัณฑิต สาขาแพทยศาสตร์ ที่ปรึกษาคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ที่ปรึกษากรมควบคุมโรค ประธานมูลนิธิส่งเสริมการศึกษาโรคไข้หวัดใหญ่ บรรยายที่โรงแรม อมารี แอร์พอร์ท ดอนเมือง วันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๒.

abel-duran
Download Presentation

เรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่เรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ประเสริฐ ทองเจริญ ราชบัณฑิต สาขาแพทยศาสตร์ ที่ปรึกษาคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ที่ปรึกษากรมควบคุมโรค ประธานมูลนิธิส่งเสริมการศึกษาโรคไข้หวัดใหญ่ บรรยายที่โรงแรม อมารี แอร์พอร์ท ดอนเมือง วันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๒

  2. Spread of Influenza Infection Three modes, relative importance currently uncertain/controversial • Small airborne particles (aerosols/droplet nuclei) • travel several metres • remain in air for many minutes or hours • prevented by high efficiency masks/ respirators • Droplets • travel short distance (~1 metre) • probably stopped by surgical masks • Contact • virus lives for a few minutes on soft surfaces or few hours on hard surfaces • transmitted by hand to face contact?

  3. การติดต่อของโรคไข้หวัดใหญ่การติดต่อของโรคไข้หวัดใหญ่ • สัมผัสโดยตรง • สัมผัสทางอ้อม • คน-สู่-คน • จากมารดา สู่ ทารกในครรภ์ (ไข้หวัดนก) • (ข้อมูลจากประเทศจีน) (CID 2002; 34: 558-564)

  4. การเกิดไข้หวัดใหญ่ ระบาดใหญ่ (Pandemic Influenza) เมื่อ :- 1. มีไวรัสชนิดใหม่ (คนไม่มีภูมิคุ้มกัน) 2. ก่อโรคในคน 3. แพร่กระจายจาก คน-สู่-คน ได้ง่าย (โลกอยู่ในระยะที่ 6 ตั้งแต่วันที่ 11 มิย)

  5. ผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจของโรคไข้หวัดใหญ่ผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจของโรคไข้หวัดใหญ่ • ประชากรทั่วโลกป่วย 6-12%ต่อปี (300-700 ล้านคน) • WHO :- 3-5 ล้านคน เป็นไข้หวัดใหญ่รุนแรง • :- 250,000 – 500,000 คนเสียชีวิตต่อปี • USA :- 200,000 คน รักษาในโรงพยาบาล • :- 36,000 คน เสียชีวิตต่อปี • WHO :- 75% ของประชากรที่มีความเสี่ยงสูงควรได้วัคซีนป้องกัน • ในปี ค.ศ. 2010

  6. ภาระโรคไข้หวัดใหญ่ สหรัฐอเมริกา ฟลูเป็นสาเหตุของการเสียชิวิต 20,000 - 40,000 คนทุกปี บางปีอาจสูงถึง 50,000 และทำให้อัตราการเข้ารับรักษาในโรงพยาบาลเกินกว่ากรณีปกติถึง 200,000 ครั้ง ทำให้เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น $750 ล้านเหรียญ ถ้าปีใดเกิดมีการระบาดก็อาจเพิ่มขึ้นสูงถึงหนึ่งพันล้านเหรียญทีเดียว

  7. Influenza:Thailand ผู้ป่วยใน โรคปอดบวมจากฟลู • ๑๑ % ของปอดบวมที่อยู่ใน รพ. เกิดจาก ฟลู • ทุกอายุต้องหยุดงานเฉลี่ยคนละ ๖.๖ วัน (เกณฑ์ ๑-๒๖) • อัตราความชุกทุกอายุที่อยู่ รพ. ด้วยปอดบวม ๑๕-๗๖ ต่อแสนประชากร • ต่อปีมีผู้ป่วยปอดบวมทั่วประเทศ ๑๐,๖๒๓-๕๑๗๖๘ ราย ผู้ป่วยนอกที่เป็นฟลู ร้อยละ ๒๓ ของผู้ป่วย Influenza-Like Ilness (ILI) ชันสูตรได้ว่าเป็นฟลู • คนไข้ผู้ใหญ่ขาดงานคนละ ๔.๔๖ วัน • ร้อยละ ๘๔ เป็นผู้ป่วยอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี • ทั่วประเทศ ต่อปีจะมีผู้ป่วยไปขอรับการรักษาที่ รพ. ๙๒๔,๔๗๘ คน • ทั่วประเทศมีผู้ขาดงานจากฟลู ๓.๐๒ ล้านวันทำงาน หยุเรียน ๑.๗๐ ล้านวันต่อปี ข้อมูลจากบทความวิจัยของ Simmerman M.(2007)

  8. ผู้ป่วยนอกที่เป็นฟลู ร้อยละ ๒๓ ของผู้ป่วย Influenza-Like Ilness (ILI) ชันสูตรได้ว่าเป็นฟลู • คนไข้ผู้ใหญ่ขาดงานคนละ ๔.๔๖ วัน • ร้อยละ ๘๔ เป็นผู้ป่วยอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี • ทั่วประเทศ ต่อปีจะมีผู้ป่วยไปขอรับการรักษาที่ รพ. ๙๒๔,๔๗๘ คน • ทั่วประเทศมีผู้ขาดงานจากฟลู ๓.๐๒ ล้านวันทำงาน หยุดเรียน ๑.๗๐ ล้านวันต่อปี

  9. ข้อเท็จจริง 1. ประมาณร้อยละ ๑๑ ของผู้ป่วยปอดบวมในชุมชนเกดจากไวรัสฟลู 2. ส่วนมากไวรัสในไทยจะเป็นไวรัส เอ พบได้ตลอดปี แต่ระบาดมากอยู่ระหว่าง มิถุนายน-ตุลาคม. 3. สาเหตุของการตายมักไม่ได้ชันสูตรยืนยัน 4. ข้อมูที่มีก็พอที่จะมองเห็นภาระโรค งานวิจัยยังจำเป็นจะต้องทำเพิ่มขึ้น

  10. Influenza cases in 2550(5 Dec 2007) รายงานทั้งปี 2093 ราย • Influenza A H1: 28 ราย, ตาย 1 • Influenza A H3: 598 ราย, ตาย 12 Influenza B: 73 ราย, ตาย 1 • Influenza A H5: 1รายและตาย

  11. Morbidity and mortality of pneumonia, Thailand ป่วย(100,000 pop.) ตาย(100,000 pop.) Initiation of AI surveillance ที่มา: รายงาน 506

  12. Pneumonia incidence by province 2006 ที่มา: รายงาน 506

  13. หน่วยสอบสวนเคลื่อนที่เร็วหน่วยสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว โรงพยาบาล เครือข่ายการเฝ้าระวัง ห้องชันสูตร สัตวแพทย์ พยาธิแพทย์

  14. Seasonal Influenza A in Outpatients June-October June-October 2003 2004 2005

  15. Influenza B in Outpatients Nov-Dec Jan-Apr 2003 2004 2005

  16. Burden of Influenza From Simmerman M., Lertiendumrong J et al. (2006)

  17. Pandemic Influenza – Medical Intervention • Pharmaceutical Intervention • : Antiviral agents – treatment, prevention • : Pandemic Vaccine – most important • (time consuming) • 2. Non-Pharmaceutical Intervention • : General advices – hand washing • : Masking – surgical mask, N95 respirator • : Social distancing

  18. Currently Available Vaccines • Inactivated Influenza vaccine (egg-based) • Whole virus vaccine • Split vaccine • Subunit vaccine • Live Attenuated Influenza vaccine

  19. Trivalent Inactivated Vaccines (TIV) Whole virus Split virus Subunit

  20. Influenza vaccination in the Asia-Pacific Region 2002-2005

  21. ข้อจำกัดของวัคซีนไข้หวัดใหญ่ข้อจำกัดของวัคซีนไข้หวัดใหญ่ • ต้องให้วัคซีนทุกปี • ต้องให้โดยการฉีด • สายพันธุ์ในวัคซีนอาจไม่ตรงกับสายพันธุ์ที่กำลังระบาด (สายพันธุ์ขั้วโลกเหนือ-ใต้) • วัคซีนมีอายุสั้น

  22. แมคฟาร์แลนด์ เบอร์เน็ทท์ เป็นผู้พบวิธีเพาะเชื้อในไข่ไก่ฟักในภายหลัง เบอร์เน็ทท์ ได้รับการสถาปนาให้เป็นเซอร์และได้รับรางวัลโนเบลในเวลาต่อมา

  23. Sir McFaland Burnet & เซ่อ (ซ่า) ประเสริฐ ถ่ายที่แคนเบอร์รา

  24. โครงการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ (Pandemic) ในประเทศไทย 1. เพิ่มการใช้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ (seasonal) บุคลากรแข็งแรง ลด reassortment พัฒนาระบบ 200,000 โด๊ส/ปี 2. เพิ่มศักยภาพในการผลิตใช้เอง โรงงานต้นแบบ ความร่วมมือกับต่างประเทศ 3. เพิ่มศักยภาพในการวิจัย การวิจัยทางคลินิก พัฒนาเชื้อไวรัสตั้งต้น

  25. Flu vaccine for human • วัคซีนที่ใช้ในซีกโลกเหนือ Northern hemisphere • วัคซีนที่ใช้ในซีกโลกใตั Southern hemisphere

  26. Dosage Influenza vaccine dosage, by age group Age group Dose Number of doses Route 6-35 mos* 0.25 ml 1 or 2 ll Intramuscular 3-8 yrs 0.50 ml 1 or 2 ll Intramuscular >9 yrs 0.50 ml 1 Intramuscular * For age group 6 - 35 months: Split or subunit vaccine only

  27. Safety and Adverse Reaction Issue

  28. Vaccine for AI in human • NIL • Human A virus: H1, H2, H3; N1, N2 • Avian A virus: H1 – 15; N1- N9 • Current outbreaks of AI: H7, H9, H5; N1, N2, N7

  29. สรุป:- ปัญหาของ Pandemic Vaccines • ยังไม่ทราบสายพันธุ์เชื้อไวรัสจนกว่าจะเริ่มระบาด • ขีดความสามารถในการผลิตยังต่ำมาก • วัคซีนต้องใช้ 2 โด๊ซเพราะไม่เคยมีภูมิคุ้มกันมาก่อน • ปริมาณ antigen สูงกว่าปกติ ทำให้ครอบคลุมจำนวนประชากรต่ำ • ความครอบคลุมคนทั่วโลก > 6000 ล้านคนเป็นไปได้ยากมาก (WHO/IVB/06.13: WHO/CDS/EPR/GIP/2006.1)

  30. Personal and Hand Hygiene in Pandemic Phase 4-6

  31. “การเตรียมตัวต่อสู้ไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่ของประชาชน”“การเตรียมตัวต่อสู้ไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่ของประชาชน” • ล้างมือ ล้างมือ ล้างมือ • มารยาทในการไอ จาม • เตรียมความพร้อมในการทำงานอยู่กับบ้าน ไม่ออกนอกบ้าน ดูแล.....

  32. วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ • เป็นมาตรการที่สำคัญที่สุดในการควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ • ประชากร 1000 ล้านคนทั่วโลก “เสี่ยง” • วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประกอบด้วย H1N1, H3N2, B • ใช้เวลาผลิตประมาณ 6-8 เดือน • มีการเปลี่ยนแปลงแอนติเจนเล็กน้อยทุกปี (antigenic drift) • บุคคลต่างๆ โดยเฉพาะที่เสี่ยงควรฉีดทุกปี

  33. มาตรการในการต่อสู้ “Pandemic Influenza” • “รู้เร็ว” - แพทย์ พยาบาล นักระบาด ทุกระดับ • - lab. พร้อมรับมือ • 2. “รักษา – ป้องกันเร็ว” • - แพทย์ พยาบาล นักระบาด ทุกระดับ • - โรงพยาบาลพร้อมรับมือ • - ยาต้านไวรัสพร้อมรักษา-ป้องกัน • 3. “ควบคุมโรคเร็ว” • - Pandemic vaccine สำหรับคนทั่วไป

  34. ทำไมประเทศไทยจึงมีนโยบาย “ไม่ให้วัคซีนแก่สัตว์ปีก” • ไม่มั่นใจในคุณภาพของวัคซีน • ไม่มั่นใจในวินัยของระบบ biosecurity • ขาด marker สำคัญในการเฝ้าระวังในสัตว์ปีกป่วย/ตาย • ขาดความเชื่อมั่นในผลผลิตอุตสาหกรรมสัตว์ปีก • ประสิทธิภาพของวัคซีนเพียงลดการตาย ไม่ลดการติดเชื้อ มี viral shedding

  35. วัคซีนในอนาคต 1. ผลิตโดยใช้เซลล์เพาะ 2. ภูมิคุ้มกันกว้างขวาง 3. เก็บได้นานหลายปี อาจเป็นผงแห้ง 4. เปลี่ยนจากฉีดเป็น – สูดดม (ยานัตถุ์), ถูทาหรือแปะ (กอเอี๊ยะ)

More Related