1 / 118

นายไตรรงค์ เจนการ

การประเมินผลตามหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐานโดยอิงมาตรฐานการเรียนรู้ และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. นายไตรรงค์ เจนการ. นำเสนอโดย. สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กระทรวงศึกษาธิการ ถ.ราชดำเนิน เขตดุสิต 10300 โทร 02-282-9712 ต่อ 709.

Download Presentation

นายไตรรงค์ เจนการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินผลตามหลักสูตรการศึกษาการประเมินผลตามหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐานโดยอิงมาตรฐานการเรียนรู้ และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ นายไตรรงค์ เจนการ นำเสนอโดย สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ถ.ราชดำเนิน เขตดุสิต 10300 โทร 02-282-9712 ต่อ 709 http://academic.obec.go.th

  2. Standards Assessment • สถานศึกษา • เขตพื้นที่การศึกษา • ประเทศ (NT)

  3. ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะคุณภาพที่ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะคุณภาพที่ พึงประสงค์ของผู้เรียนที่ต้องการให้เกิด ผู้เรียนควรเกิดการเรียนรู้อะไร ทำอะไรได้และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใด เมื่อจบในแต่ละช่วงชั้น มาตรฐานการเรียนรู้ ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะคุณภาพที่ พึงประสงค์ของผู้เรียนที่ต้องการให้เกิด ผู้เรียนควรเกิดการเรียนรู้อะไร ทำอะไรได้และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใด เมื่อจบในแต่ละช่วงชั้น จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน

  4. คุณลักษณะที่สำคัญของมาตรฐานที่ดีคุณลักษณะที่สำคัญของมาตรฐานที่ดี 1. มาตรฐานที่ต้องมุ่งเน้นวิชาการ (academics) 2. มาตรฐานต้องอยู่บนพื้นแกนกลางสาขาวิชา (core disciplines) 3. มาตรฐานต้องมีเพียงพอเฉพาะเจาะจง เชื่อมั่นได้ต่อการพัฒนาหลักสูตรแกนกลาง (core carriculum) 4. มาตรฐานต้องสามารถควบคุมบังคับให้อยู่ในเวลาที่กำหนดได้ (constrains of time) 5. มาตรฐานต้องอยู่ในภาวการณ์แข่งขันและอยู่ในระดับโลก(rigorous and world-class) 6. มาตรฐานต้องสามารถประเมินได้โดยจากปฏิบัติ (valueate performance) 7. มาตรฐานต้องประกอบด้วยหลายด้านหลายมิติของการปฏิบัติ หรือหลายระดับความสามารถ (multiple performance) 8. มาตรฐานต้องหลอมรวมองค์ความรู้และทักษะต่าง ๆ เข้าด้วยกัน (knowledge and skills)(dicate) 9. มาตรฐานต้องไม่บงการบังคับ สื่ออะไร,การเรียนการสอนว่าต้องทำอย่างไร 10. มาตรฐานต้องเขียนสื่อความให้ชัดเจน (clearly) Matthew Gandal,1995.

  5. มฐ. ป.1-3 ป.4-6 ม.1-3 ม.4-6 คณิตศาสตร์ 19 35 43 44 33 155 ภาษาไทย 6 17 17 17 18 69 วิทยาศาสตร์ 13 33 38 55 41 167 สังคมฯ 12 38 39 40 41 158 การงานฯ 6 18 29 28 31 106 สุขศึกษา 6 22 29 29 28 108 ศิลปะ6 24 24 24 24 96 ภาษา ต่างประเทศ 8 22 24 27 28 101 รวม76 209 243 264 244 960 11.48 9.87 11.36 12.29 800-2400 1000-3000

  6. ตัวอย่างมาตรฐานการเรียนรู้ตัวอย่างมาตรฐานการเรียนรู้ ว.2.2 : ป.4-6 2.2.1 สังเกต สำรวจ ตรวจสอบ อภิปราย และอธิบาย เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ ในท้องถิ่น ผลของการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม โดยธรรมชาติและโดยมนุษย์ แสดงแนวคิดและร่วมปฏิบัติในการดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ท.2.1: ป.4-6 2.1.1 สามารถเขียนเรียงความ ย่อความชี้แจงการปฏิบัติงาน การรายงาน เขียน จดหมาย สื่อสารได้เหมาะสมกับโอกาสและจุดประสงค์ เขียนเรื่องราว จากจินตนาการหรือเรื่องราวที่สัมพันธ์กับชีวิตจริง รวมทั้งใช้กระบวน การเขียนพัฒนางานเขียน ง.4.2: ป.4-6 4.2.7 ใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูลและความรู้จากแหล่งข้อมูล 4.2.10 ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำให้ชีวิตประจำวัน อย่างมีจิตสำนึกและมีความรับผิดชอบ

  7. กลุ่มสาระวิทยาศาตร์ ช่วงชั้นที่ 2 สาระที่ 2 ว.2.2 : ป.4-6 ว.2.2.1 สังเกต สำรวจ ตรวจสอบ อภิปราย และอธิบาย เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น ผลของการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมโดยธรรมชาติและโดยมนุษย์ แสดงแนวคิดและร่วมปฏิบัติในการดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  8. กลุ่มสาระการงานฯ ช่วงชั้นที่ 2 สาระที่ 4 ง.4.2: ป.4-6 ง.4.2.7 ใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูลและความรู้จากแหล่งข้อมูล ง.4.2.10 ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำให้ชีวิตประจำวันอย่างมีจิตสำนึกและมีความรับผิดชอบ

  9. กลุ่มสาระภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 3 สาระที่ 3การฟัง การดู และการพูด • ท 3.1.2 สามารถพูดนำเสนอความรู้ ความคิด การวิเคราะห์และการประเมินเรื่องราวต่างๆพูดเชิญชวน อวยพรและพูดในโอกาสต่างๆได้อย่างเหมาะสม มีเหตุผล ใช้ภาษาถูกต้อง ชัดเจนตามหลักการพูด มีมารยาท การฟัง การดู และการพูด

  10. กลุ่มสาระภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 3 สาระที่ 3การฟัง การดู และการพูด ท3.3.1 เข้าใจถ้อยคำ เนื้อเรื่อง ประเด็นสำคัญ น้ำเสียง กิริยา ท่าทาง จุดประสงค์ ของผู้พูด และสามารถตีความข้อความที่ฟังได้ ท 3.3.2. วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณค่าของสิ่งที่ฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ ท 3.3.3. สามารถเล่าประสบการณ์ รายงาน พูดแสดงความรู้ ความคิดในที่ประชุมอย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ และมีมารยาท

  11. กลุ่มการงานฯ ช่วงชั้น 4 (ม 4 – 6) สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ • ง.4.1.2 เข้าใจองค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ • ง 4.1.10 ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ

  12. กลุ่มการงานฯ ช่วงชั้น 4 (ม 4 – 6) สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ ง.4.3.3. เข้าใจองค์ประกอบหลักการทำงานข้อกำหนดของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง และเลือกใช้ฮาร์ดแวร์ซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน

  13. กลุ่มการงานฯ ช่วงชั้น 4 (ม 4 – 6) สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ • ง.4.4.4. เข้าใจระบบสื่อสาร ข้อมูลเครือข่าย คอมพิวเตอร์และติดต่อสื่อสารค้นหาข้อมูลความรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีประสิทธิภาพ

  14. มาตรฐานการเรียนรู้ระดับชาติมาตรฐานการเรียนรู้ระดับชาติ (กรอบหลักสูตรระดับชาติ) กรอบหลักสูตรท้องถิ่น/ เขตพื้นที่การศึกษา (ถ้ามี) การบรลุมาตรฐาน * วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา * หน่วยการเรียนรู้ การเรียนการสอนในชั้นเรียน

  15. กระบวนการที่ใช้อยู่ในปัจจุบันกระบวนการที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ๑ ๒ มาตรฐานช่วงชั้น สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น ๑ มาตรฐานช่วงชั้น ๓ ๔ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายปี/ รายภาค สาระการเรียนรู้ รายปี/ รายภาค ๒ หน่วยการเรียนรู้ ๕ คำอธิบายรายวิชา (Harris & Carr, 1996; Glatthorn et al. 1998, Solomon P., 1998 ) ๖ หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ ๗ แผนการเรียนรู้

  16. กระบวนการที่ใช้อยู่ในปัจจุบันกระบวนการที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ๑ ๒ มาตรฐานช่วงชั้น สาระการเรียนรู้ช่วงชั้น ๑ มาตรฐานช่วงชั้น ๓ ๔ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายปี/ รายภาค สาระการเรียนรู้ รายปี/ รายภาค ๒ หน่วยการเรียนรู้ ๕ คำอธิบายรายวิชา คำอธิบายรายวิชา (Harris & Carr, 1996; Glatthorn et al. 1998, Solomon P., 1998 ) ๖ หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ ๗ แผนการเรียนรู้

  17. องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร • กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย • กำหนดโครงสร้าง • จัดทำคำอธิบายรายวิชา • หลักเกณฑ์การใช้หลักสูตร • เวลาเรียน(กี่ภาค กี่ปี ปีละกี่ภาค...) • หน่วยน้ำหนัก/หน่วยกิต • วิชาพื้นฐาน, วิชาเพิ่มเติม(บังคับ,เลือกเสรี) • การประเมินผลการเรียน • เกณฑ์การจบหลักสูตร/ผ่านช่วงชั้น

  18. พื้นฐานนก. ชม. 1) ภาษาไทย ( 4 – 6) (160 – 240) 2) คณิตศาสตร์ (4 – 6) (160 – 240) 3) วิทยาศาสตร์ ( 4 – 6) (160 – 240) 4) สังคม ฯ (4 – 6) (160 – 240) 5) ภาษาอังกฤษ ( 4 – 6) (160 – 240)(20 – 30)(800 – 1200)นก. ชม. 6) สุขศึกษา ฯ(3 – 4) (120 – 160) 7) ศิลปะ(3 – 4) (120 - 160) 8) การงาน ฯ(3 – 4) (120 – 160) (9 - 12) (360 - 480) เพิ่มเติม 9) บังคับ นก. ชม. (46 – 33) (1840 – 1320) 10) เลือกเสรี (3,000 – 3,000) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน(12 - 44)(480) ชม. = 3,480 โครงสร้างหลักสูตรช่วงชั้นที่ 4( มากกว่า 75 หน่วยกิต , 75 x 40 = 3,000) (29 – 42) (1160 –1680)

  19. คำอธิบายรายวิชา • ชื่อ------ • เวลาเรียน------- น้ำหนัก/หน่วยกิต------ • มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น • สาระการเรียนรู้

  20. รายวิชาP. 32. • ชื่อ------ เวลาเรียน------- น้ำหนัก/หน่วยกิต------ • มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น • สาระการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ • มาตรฐานการเรียนรู้ • สาระการเรียนรู้ • จำนวนเวลา

  21. คำอธิบายรายวิชา รหัส…………………… วิชา…………………………….. 120 ชม. 3 หน่วยกิต ค 1.1.3 เปรียบเทียบจำนวนนับและศูนย์ได้ ค 3.1.1 บอกชนิดของรูปเรขาคณิตหนึ่งมิติ สองมิติ และสามมิติที่กำหนดให้ได้ ค 4.1.1 บอกแบบรูปและความสัมพันธ์ที่กำหนดให้ได้ ค 5.1.2 จำแนกและจัดประเภทตามลักษณะของข้อมูลและนำเสนอได้ ค 6.1.1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหาได้ ค 6.1.2 ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์ แก้ปัญหาในสถานการณ์จริงได้

  22. ๘) ความต้องการของรายวิชา ๘) ความต้องการของรายวิชา ภายหลังจากจบการเรียนการสอนรายวิชานี้ผู้เรียนจะต้อง (๑) แสดงให้เห็นถึงความเข้าใจในวิธีการที่แตกต่างของการนำเสนอเกี่ยวกับจำนวน และ การนำจำนวนไปใช้ในโลกแห่งความเป็นจริง MA.A.๑.๔.๑ MA.A.๑.๔.๒ (๒) แสดงให้เห็นถึงความเข้าใจเกี่ยวกับระบบจำนวน MA.A.๒.๔.๒ (๓) ใช้การประมาณค่าในการแก้ปัญหาและการคิดคำนวณ MA.A.๔.๔.๑ (๔) วัดปริมาณในโลกแห่งความเป็นจริงและใช้การวัดในการแก้ปัญหาต่างๆ MA.B.๑.๔.๑ MA.B.๑.๔.๒ MA.B.๑.๔.๓ (๕) ใช้วิธีการทางสถิติลงความเห็นและอ้างเหตุผลที่เชื่อถือได้ของสภานการณ์ ต่างๆ ในโลกแห่งความเป็นจริง MA.B.๓.๔.๑

  23. การนำหลักสูตรไปใช้จริงๆการนำหลักสูตรไปใช้จริงๆ

  24. คำอธิบายรายวิชา มาตรฐานช่วงชั้น ๑, ๒, ๓ หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานช่วงชั้น ๑......... ๒........ มาตรฐานช่วงชั้น ๓......... แผนการเรียนรู้ แผนการเรียนรู้ แผนการเรียนรู้

  25. คำอธิบายรายวิชา รหัส…………………………… วิชา…………………………….. 120 ชม. 3 หน่วยกิต ม.ฐ. 1 สาระ ม.ฐ. 2 สาระ ม.ฐ. 3 สาระ ม.ฐ. 4 สาระ ม.ฐ. 5 สาระ ม.ฐ. 6 สาระ 1 2 3 4 5 6 160 120 240 280 200 SUM : Unit แผน 1 แผน 2 แผน 3 แผน 4 280 50 40 60 50 80 5 ชม. 4 ชม. 6 ชม. 5 ชม. 5 ชม.. หน่วย 3 SUM : COURSE หน่วย 1 หน่วย 2 หน่วย 4 ม.ฐ. 1 ม.ฐ.2 สาระ ม.ฐ. 2 ม.ฐ. 3 สาระ ม.ฐ. 4 ม.ฐ.5 สาระ ม.ฐ. 5 ม.ฐ.6 สาระ 1000 30 ชม.. 20 ชม.. 25 ชม. 25 ชม.. 20 ชม.

  26. 24 12 16 28 20 ม.ฐ. 2 ม.ฐ. 3 สาระ ม.ฐ. 4 ม.ฐ.5 สาระ ม.ฐ. 5 ม.ฐ.6 สาระ ม.ฐ. 1 ม.ฐ.2 สาระ 100 30 ชม.. 20 ชม.. 25 ชม. 25 ชม.. 20 ชม.

  27. หน่วย 1 280 ม.ฐ. 1 ม.ฐ.2 สาระ 25 ชม. SUM : Unit 80 5 ชม.. แผน 1 แผน 2 แผน 3 แผน 4 50 40 60 50 5 ชม. 4 ชม. 6 ชม. 5 ชม.

  28. Outcome มาตรฐาน โรงเรียน

  29. หน่วยการเรียนรู้ การเรียนการสอนในชั้น และร่องรอยหลักฐานการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ชิ้นงานและการปฏิบัติงาน ของนักเรียน การประเมิน ความสนใจของผู้เรียน ประเด็นปัญหาในท้องถิ่น

  30. หน่วยการเรียนรู้ • มาตรฐานการเรียนรู้ • 1). ว.2.2.1……………………….. • 2) ง..4.2.10.……………………….. • หลักฐาน ร่องรอยผลการเรียนรู้ • 1)……………………….. • 2).……………………….. • แนวทางการให้คะแนน เพื่อการประเมิน ( Rubrics ) • 1. เกณฑ์ ( Criteria ) • 2. ระดับน้ำหนักของคะแนน ( Scales ) • 3. คำอธิบาย คุณภาพของงาน ( Performance Description ) • 4. ตัวอย่าง ผลงาน • กิจกรรมการเรียนการสอน • 1)……………………….. (แผนการจัดการเรียนรู้ 1 ) • 2).……………………….. ( แผนการจัดการเรียนรู้ 2 )

  31. ชั้น รายวิชา ชื่อหน่วย เวลาเรียนโดยประมาณ ช.ม จุดประสงค์หลัก ผู้ดำเนินการ *ปัญหาดำรงชีวิต *ปัญหา *คำถาม มาตรฐานการเรียนรู้เป้าหมาย *ระดับการยอมรับทางวิชาการ *เนื้อหาสาระหลัก 1 ชุดคำถามที่สำคัญ (Essential Questions) ผลงาน/การปฏิบัติขั้นสุดยอด (ร่องรอย,หลักฐานการเรียนรู้) 2 แนวการให้คะแนน (Scoring Guide) องค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการต่างๆ กิจกรรมการเรียนการสอนและการประเมิน 3 แนวการให้คะแนน (Scoring Guide) แหล่งการเรียนรู้ที่สำคัญและจำเป็น

  32. การประเมินผล • การประเมินผลระหว่างการเรียนการสอน • การประเมินผลรวบยอด

  33. นิยามศัพท์ Measurement Evaluation * summative evaluation *formative evaluation Assessment *diagnostic assessment *formative assessment *summative assessment

  34. 1. เป้าหมายของการประเมินผล นำผลการประเมินผลไปพัฒนา นำผลการประเมินไปตัดสินผล

  35. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ • เป็นกระบวนการใช้พัฒนาคุณภาพผู้เรียน • ช่วยให้ได้ข้อมูลสารสนเทศ แสดงถึงการ • พัฒนาการความก้าวหน้า ความสำเร็จทางการ • เรียนของผู้เรียน • เป็นข้อมูลที่มีผลต่อการส่งเสริมผู้เรียนเกิด • การพัฒนา และเรียนรู้อย่างเต็มตามศักยภาพ

  36. สถานศึกษา • ต้องจัดทำเกณฑ์และแนวปฏิบัติ • การวัดและประเมินผลการเรียน • เพื่อถือปฏิบัติร่วมกัน และเป็นไป • ในมาตรฐานเดียวกัน

  37. การวัดและประเมินผลระดับชั้นเรียนการวัดและประเมินผลระดับชั้นเรียน • <> จุดหมายสำคัญ มุ่งหาคำตอบว่า ผู้เรียนมีความก้าวหน้าทางด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณธรรม ค่านิยม อันพึงประสงค์หรือไม่/เพียงใด • การวัดและประเมินผล ต้องใช้วิธีการ ที่หลากหลาย

  38. การประเมินผลระดับสถานศึกษาการประเมินผลระดับสถานศึกษา • O ประเมินเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้า • ด้านการเรียนรู้เป็น เรียนรู้เป็นรายปี และ • ช่วงชั้น • O สถานศึกษานำข้อมูลการประเมินไปใช้ • เป็นแนวทางปรับปรุงพัฒนาการเรียน • การสอนคุณภาพผู้เรียนให้เป็นไปตาม • มาตรฐานการเรียนรู้

  39. การประเมินผลระดับสถานศึกษาการประเมินผลระดับสถานศึกษา • O นำผลการประเมินรายช่วงชั้นไปพิจารณา • ตัดสินการเลื่อนช่วงชั้น • O สถานศึกษาต้องจัดให้มีการเรียนการสอน • ซ่อมเสริม และจัดให้มีการประเมินผล • การเรียนรู้ ในกรณีผู้เรียน ไม่ผ่าน • มาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสาระต่าง ๆ

  40. เกณฑ์การผ่านช่วงชั้น(1, 2, 3) [4] • 1. เรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระและได้รับ • การตัดสินผลการเรียน (ได้น้ำหนัก/ • หน่วยกิตครบตามหลักสูตร) • 2. ต้องผ่านการประเมินการอ่าน • คิดวิเคราะห์และเขียน

  41. เกณฑ์การผ่านช่วงชั้น (1, 2, 3) [4] • 3. ต้องผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึง • ประสงค์ • 4. ต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และ • ผ่านการประเมิน • * ทุกข้อ : ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด • - จบ ม.3 ถือว่าจบการศึกษาภาคบังคับ • - จบ ม. 6 ถือว่าจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน

  42. 2. อะไรที่ต้องประเมิน มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น 8 กลุ่มสาระ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

  43. การประเมินผล 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ • รายวิชาที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ • หน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน • แผนการเรียนรู้

  44. หน่วยการเรียนรู้( Kentucky Department of Education 1998) ระดับชั้น.......... รายชื่อวิชา.............. ชื่อหน่วย........... เวลาเรียน............... มาตรฐานการเรียนรู้เป้าหมาย ระดับการยอมรับได้ทางวิชาการ เนื้อหาสาระหลัก

  45. หน่วยการเรียนรู้ • ชุดคำถามที่สำคัญ • ผลงาน/ การปฎิบัติงานขั้นสุดยอด(หลักฐานของการเรียนรู้)+ (ประกอบด้วยแนวทางการให้คะแนน)

More Related