1 / 28

แนวทางการดำเนินโครงการอนุรักษ์การได้ยิน ในสถานประกอบการ

แนวทางการดำเนินโครงการอนุรักษ์การได้ยิน ในสถานประกอบการ. นพ.โภคิน ศักรินทร์กุล โรงพยาบาลลำพูน. ที่มาและความสำคัญ. ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2553. สิ่งที่ต้องดำเนินการ.

adelle
Download Presentation

แนวทางการดำเนินโครงการอนุรักษ์การได้ยิน ในสถานประกอบการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการดำเนินโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบการแนวทางการดำเนินโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบการ นพ.โภคิน ศักรินทร์กุล โรงพยาบาลลำพูน

  2. ที่มาและความสำคัญ ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2553

  3. สิ่งที่ต้องดำเนินการ • Time Weighted Average (TWA) 8 hr >= 85 dB(A) • ลายลักษณ์อักษร • นโยบายอนุรักษ์การได้ยิน • การเฝ้าระวังเสียงดัง (Noise Monitoring) • การเฝ้าระวังการได้ยิน (Hearing Monitoring) • หน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ที่เกี่ยวข้อง • ประกาศให้ทราบ ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2553

  4. เฝ้าระวังเสียงดัง ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2553

  5. เฝ้าระวังเสียงดัง • สำรวจและตรวจวัดระดับเสียง • ศึกษาระยะเวลาสัมผัสเสียงดัง • ประเมินการสัมผัสเสียงดัง • แจ้งให้ลูกจ้างทราบ

  6. ประเมินการสัมผัสเสียงดังประเมินการสัมผัสเสียงดัง • ต้องคำนวณปริมาณเสียง

  7. มาตรฐานระดับเสียงที่ยอมให้ลูกจ้างได้รับตลอดเวลาการทำงานในแต่ละวันมาตรฐานระดับเสียงที่ยอมให้ลูกจ้างได้รับตลอดเวลาการทำงานในแต่ละวัน กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2549

  8. Pitfall 1 • ไม่ได้คำนวณนอกเหนือจากตาราง เช่น ทำงาน 10 ชั่วโมง กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2549

  9. Pitfall 1คำนวณปริมาณเสียง (using Excel)

  10. Pitfall 2 • เสียงกระแทก รวมแล้วไม่เกิน แต่บางช่วงมีเสียงดัง ACGIH อ้างใน สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. คู่มือการเผ้าระวังการสูญเสียการได้ยิน. นนทบุรี: สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2547.p 29.

  11. เฝ้าระวังเสียงดัง • Time Weighted Average (TWA) • แบ่งกลุ่มแผนกเป็น 3 กลุ่ม • กลุ่มที่ 1 TWA < 85 dB(A) • กลุ่มที่ 2 TWA 85-139 dB(A) • กลุ่มที่ 3 TWA >= 140 dB(A) • แต่ละกลุ่มดำเนินการแตกต่างกัน สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. คู่มือการเผ้าระวังการสูญเสียการได้ยิน. นนทบุรี: สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2547.

  12. กลุ่มที่ 1 TWA < 85 dB(A) • เฝ้าระวังเสียงดังเพียงอย่างเดียว • ตรวจประเมินเสียงอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง • ทำเมื่อ • มีการรับลูกจ้างใหม่ • มีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. คู่มือการเผ้าระวังการสูญเสียการได้ยิน. นนทบุรี: สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2547.

  13. กลุ่มที่ 2 TWA 85-139 dB(A) • ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อควบคุมเสียงดัง • จัดกิจกรรมการเฝ้าระวังสุขภาพลูกจ้างที่ปฏิบัติงานในแผนกนั้น สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. คู่มือการเผ้าระวังการสูญเสียการได้ยิน. นนทบุรี: สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2547.

  14. กลุ่มที่ 3 TWA >= 140 dB(A) • Impact or Impulse noise • ประกาศห้างลูกจ้างเข้าปฏิบัติงานในแผนก • จนกว่าจะมีการควบคุมเสียงดังให้อยู่ในความปลอดภัย สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. คู่มือการเผ้าระวังการสูญเสียการได้ยิน. นนทบุรี: สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2547.

  15. เฝ้าระวังเสียงดัง = กลุ่ม 2 และ 3 • จัดทำ • นโยบายอนุรักษ์การได้ยิน • การเฝ้าระวังเสียงดัง (Noise Monitoring) • การเฝ้าระวังการได้ยิน (Hearing Monitoring) • หน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ที่เกี่ยวข้อง

  16. เฝ้าระวังสุขภาพ (เฝ้าระวังการได้ยิน)

  17. เฝ้าระวังสุขภาพ (เฝ้าระวังการได้ยิน) • ปัญหาที่พบ • ไม่ได้ตรวจ Baseline Audiogram • ตรวจแต่ไม่ครบทุกความถี่ • ไม่มีผลแยกความถี่เก็บไว้ที่บริษัท

  18. Pitfall 3Baseline Audiogram ผิดปกติ • หูข้างใดข้างหนึ่ง • 500, 1000, 2000, 3000 Hz > 25 dB • 4000, 6000 Hz > 45 dB • หูสองข้างแตกต่างกัน • 500, 1000, 2000 Hz > 15 dB • 3000, 4000, 6000 Hz > 30 dB สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. คู่มือการเผ้าระวังการสูญเสียการได้ยิน. นนทบุรี: สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2547.

  19. เฝ้าระวังสุขภาพ (เฝ้าระวังการได้ยิน) • แบ่งตามแผนก TWA • แบ่งเป็น 4 กลุ่ม • กลุ่มที่ 1 TWA < 80 dB(A) • กลุ่มที่ 2 TWA 80-84 dB(A) • กลุ่มที่ 3 TWA >= 85 dB(A) • แต่ละกลุ่มดำเนินการแตกต่างกัน สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. คู่มือการเผ้าระวังการสูญเสียการได้ยิน. นนทบุรี: สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2547.

  20. กลุ่มที่ 1 TWA < 80 dB(A) • ตรวจ Baseline audiogram ลูกจ้างใหม่ • ไม่จำเป็นต้องเฝ้าระวัง (ไม่ต้องตรวจทุกปี) • ยกเว้น • มีการรายงานการเจ็บป่วย • มีรายงานผู้ป่วยเกิดการสูญเสียสมรรถภาพ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. คู่มือการเผ้าระวังการสูญเสียการได้ยิน. นนทบุรี: สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2547.

  21. กลุ่มที่ 2 TWA 80-84 dB(A) • เฝ้าระวังทุก 3 ปี (ตรวจทุก 3 ปี กรณีผลปกติ) • เปรียบเทียบกับ Baseline Audiogram ทุกครั้ง • บันทึกผลการตรวจการได้ยินในสมุดบันทึกสุขภาพ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. คู่มือการเผ้าระวังการสูญเสียการได้ยิน. นนทบุรี: สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2547.

  22. กลุ่มที่ 3 TWA >= 85 dB(A) • เดิม1 • 85-90 dB(A) = เฝ้าระวังทุก 2 ปี (ตรวจทุก 2 ปี กรณีผลปกติ) • >= 90 dB(A)= เฝ้าระวังทุก 1 ปี (ตรวจทุก 1 ปี กรณีผลปกติ) • ใหม่2เฝ้าระวังทุก 1 ปี (ตรวจทุก 1 ปี กรณีผลปกติ) • เปรียบเทียบกับ Baseline Audiogram ทุกครั้ง • บันทึกผลการตรวจการได้ยินในสมุดบันทึกสุขภาพ 1.สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. คู่มือการเผ้าระวังการสูญเสียการได้ยิน. นนทบุรี: สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2547. 2. ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2553

  23. เฝ้าระวังสุขภาพ (เฝ้าระวังการได้ยิน) • เดิม1 • 500, 1000, 2000 Hz > Baseline 15 dB • 3000, 4000, 6000 Hz > Baseline 20 dB • ใหม่2> Baseline 15 dB ทุกความถี่ 1.สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. คู่มือการเผ้าระวังการสูญเสียการได้ยิน. นนทบุรี: สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2547. 2. ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำโครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2553

  24. เฝ้าระวังสุขภาพ (เฝ้าระวังการได้ยิน) เมื่อผิดปกติ Tip อย่าลืมคำนวณ

  25. Pitfall 3 เปลี่ยนงานแล้วไม่ได้ตรวจสุขภาพ • กฎกระทรวง 2547 หมวด 1 ข้อ 3 วรรค 2-3 กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีตรวจสุขภาพของลูกจ้างและส่งผลการตรวจแก่พนักงานตรวจแรงงาน พ.ศ. 2547

  26. Pitfall 4 ผลผิดปกติแล้วไม่ได้ดำเนินการต่อ • กฎกระทรวง 2547 หมวด 2 ข้อ 8-9 กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีตรวจสุขภาพของลูกจ้างและส่งผลการตรวจแก่พนักงานตรวจแรงงาน พ.ศ. 2547

  27. การดำเนินการที่ระบุไว้ในกฎหมายการดำเนินการที่ระบุไว้ในกฎหมาย

  28. ตอบข้อซักถาม www.lpnh.go.th หัวข้อ “ข่าวประชาสัมพันธ์ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม”

More Related