1 / 25

โดย นายแพทย์โสภณ เมฆธน รองอธิบดีกรมอนามัย

คนไทยไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี. โดย นายแพทย์โสภณ เมฆธน รองอธิบดีกรมอนามัย. 3 มีค. 2552. 6 ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย. 6. ประเมินผลกระทบ ต่อสุขภาพ. 1. ส่งเสริม พัฒนาการเด็ก. คนไทยมีสุขภาพดี. 5. เมืองน่าอยู่. 2. ลดปัจจัยเสี่ยง ในวัยรุ่น. 4. ส่งเสริม สุขภาพผู้สูงอายุ. 3. แก้ไขปัญหา

adin
Download Presentation

โดย นายแพทย์โสภณ เมฆธน รองอธิบดีกรมอนามัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คนไทยไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดีคนไทยไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี โดย นายแพทย์โสภณ เมฆธน รองอธิบดีกรมอนามัย 3 มีค. 2552

  2. 6 ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย 6. ประเมินผลกระทบ ต่อสุขภาพ 1. ส่งเสริม พัฒนาการเด็ก คนไทยมีสุขภาพดี 5. เมืองน่าอยู่ 2. ลดปัจจัยเสี่ยง ในวัยรุ่น 4. ส่งเสริม สุขภาพผู้สูงอายุ 3. แก้ไขปัญหา โรคอ้วน

  3. กรอบแนวคิดลดโรค NCD โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว (Barker’s theory) Intrauterine GrowthRetardation LBW DM, CVS, HT Imbalance of Energy In/Out (Metabolic Syndrome) Visceral Fat โครงการคนไทยไร้พุง

  4. ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาโรคอ้วนลงพุงยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาโรคอ้วนลงพุง 1. Individual approach DPAC (Diet Physical Activity Clinic) 2.Community approach HPP (Healthy Public Policy)

  5. Health burdens Individual effort สังคมต้องมีส่วนช่วยจะทำให้แต่ ละคนทำได้ง่ายขึ้น Society

  6. ผลการดำเนินงาน HPP ในระดับพื้นที่ 1.สิงห์บุรี การขี่จักรยาน / Healthy meeting “กินผลไม้ทุกวัน” ทุกจันทร์ พุธ และศุกร์ เดินรอบสสจ.เวลา 15.30น.” 2.ชุมพร การออกกำลังกาย /มี อสม.เข้มแข็ง จุดเด่นคือ ใช้ KM ทุกพื้นที่ 3.เพชรบุรี มีการปลูกผักปลอดสารพิษและแลกผักกัน ลดอาหารขบเคี้ยวในเด็กวัยเรียน มี บัดดี้ตรวจสอบกันเอง มีการสัญจรเพื่อ ลปรร 4.ฉะเชิงเทราเน้น 3 อ. คิดปัญหา คัดเลือกกิจกรรมมีการประเมิน กองพลที่ 11 มีนโยบายกองทัพให้ใส่รองเท้ากีฬา 5.ลำปาง วันอังคาร คนเมืองปานงดกินหวาน ชวนบัดดี้ออกกำลังกายบ่ายสามโมงทุกวัน “ชวนกันกินอาหารพื้นเมือง” “โรงเรียนเทศบาลปลอดน้ำอัดลม” วิธีการใช้ KM ในการค้นหา HPP 6.กาฬสินธุ์ สนับสนุนเรื่อง การออกกำลังกายเกือบทั้งจังหวัด / การปลูกผักปลอดสารพิษ ตรวจสุขภาพจนท.

  7. กรอบแนวคิดการดำเนินงาน Community intervention model (ฟิลแลนด์) Community A. Community organization - mass media - health, other service - other organization - industry - legislater B. opinion leader - formal / informal influence C. Early adopters diffusion D. Population Knowledge / motivation / Skills / Social support / Environment support actor maintenance Behavior change Risk External project Input Change indisease and health

  8. Tipping point S – Shaped Diffusion Curve (Social Epidemic Curve) Conservatists Number of Adopters Pragmatists Brokers Mavens Time

  9. กรอบแนวคิดการดำเนินงานลดปัจจัยเสี่ยงจากภาวะน้ำหนักเกินกรอบแนวคิดการดำเนินงานลดปัจจัยเสี่ยงจากภาวะน้ำหนักเกิน สร้างนโยบายสาธารณะ และสิ่งแวดล้อมที่ลด ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบ ต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อิทธิพลสิ่งแวดล้อม/สังคม - การตลาดด้านอาหาร - กระแสตะวันตก - ขาดการออกกำลังกาย ขาดการออกกำลังกาย Energy out (-) ปัจจัยด้านชีวภาพพันธุกรรมทัศนคติ อ้วนลงพุง ปัจจัยด้านพฤติกรรม Energy in (+) ระบบบริการสาธารณสุข -การให้คำปรึกษา -การรณรงค์ PR -คลินิกลดไขมัน -ระบบเฝ้าระวังภาวะเสี่ยง -พัฒนาองค์ความรู้ -สร้างพันธมิตร ภาคีเครือข่าย ขับเคลื่อนในระดับชาติ การบริโภคอาหารไม่เหมาะสม กินปริมาณมาก กินหวาน/มันมาก

  10. การค้นหาพฤติกรรมหลัก 1. ค้นหาความแตกต่างที่ส่งผลดี (Positive deviance) ดูเปรียบเทียบ 2 กลุ่ม ทำได้ดี กับไม่ดี ดูว่ามีอะไรแตกต่าง = พฤติกรรมหลัก แล้วต้องรีบนำผลสรุปที่ได้มาทดสอบทันทีเพื่อหลีกเลี่ยงการ คาดเดาที่ผิดๆ 2. ค้นหาพฤติกรรมแก้ไข (Recovery behaviors) ค้นหาพฤติกรรม หรือการกระทำที่จะทำให้กลับไปสู่สภาพปกติ

  11. วิธีการสร้างความเปลี่ยนแปลงวิธีการสร้างความเปลี่ยนแปลง

  12. วิธีการสร้างความเปลี่ยนแปลง (ต่อ)

  13. วิธีการสร้างความเปลี่ยนแปลง (ต่อ)

  14. จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดีจังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี

  15. หลักการและเหตุผล กรมอนามัย ดำเนินการรณรงค์สร้างกระแสโครงการคนไทยไร้พุง • ปี 2550สร้างกระแสจากบุคคลที่อ้วน ลงพุง สมัครเข้ามาเป็นบุคคลต้นแบบ ที่รู้จักการจัดการควบคุมน้ำหนัก ด้วยภารกิจ 3 อ. • ปี 2551 รับสมัครองค์กรต่าง ๆ เพื่อเป็น องค์กรไร้พุงต้นแบบ และชุมชนไร้พุง ต้นแบบทั่วประเทศ

  16. หลักการและเหตุผล • ปี 2552 นี้ เน้นที่เจ้าภาพตัวจริงคือคณะกรรมการบริหารจังหวัด อปท. และ สสจ. เป็นบุคคลต้นแบบ และองค์กรต้นแบบของจังหวัดที่รัก(ษ์)สุขภาพของตนเป็นอย่างดี • รณรงค์ และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รู้วิธี ประเมินรอบเอวด้วยตนเอง มีนโยบาย และ การบริหารจัดการ สร้างปัจจัยเอื้อต่อการลดพุง ของประชาชน โดยใช้ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ โทรทัศน์ วิทยุ และสื่อสิ่งพิมพ์

  17. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อขยายฐานการมีส่วนร่วมของประชาชน ทุกจังหวัด ทั่วประเทศ โดยมีคณะกรรมการบริหารระดับจังหวัด อปท. สสจ. เป็นต้นแบบ 2. เพื่อรณรงค์ให้เกิดการสื่อสารในสังคมเรื่องอ้วนลงพุง ตลอดจนพิษภัยของโรคอ้วน โดยผ่านบุคคล และองค์กรต้นแบบ 3. เพื่อให้ความรู้และวิธีการที่ถูกต้องในการใส่ใจสุขภาพ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยภารกิจ 3 อ. และลดน้ำหนัก อย่างถูกต้อง

  18. กลุ่มเป้าหมาย 1. ระดับองค์กร 1.1 บุคลากรใน สสจ. (นพ.สสจ.,ข้าราชการ,ลุกจ้าง) 1.2 ประชาชนในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1 แห่ง (อายุ 15 ปี ขึ้นไป) 2. ระดับบุคคล 2.1 หัวหน้าหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาคระดับจังหวัด โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธานการประชุมจังหวัด 2.2 นายก อบจ., นายกเทศมนตรี, นายก อบต.ทุกคนในจังหวัด

  19. รูปแบบกิจกรรม • เชิญจังหวัดต่าง ๆ ทั้ง 75 จังหวัด • เตรียมตัวแทนจังหวัดเข้าร่วมกิจกรรม • โครงการ “จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี” • เป็นระยะเวลา 5 เดือน โดยตัวแทน • จังหวัดประกอบด้วย • หัวหน้าหน่วยงานราชการ จังหวัด • นายก อบจ, เทศมนตรี, อบต. ทุกคน • บุคลากรใน สสจ. • ปชช. ในเขต อปท. 1 แห่ง 19

  20. รูปแบบกิจกรรม ชั่ง น้ำหนัก

  21. รูปแบบกิจกรรม

  22. รางวัล จัดงานประกาศผู้ชนะเลิศ “จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี” ชนะเลิศ รับรางวัลเงินสด 100,000 บาท พร้อมโล่ประกาศเกียรติคุณ ทีมรองชนะเลิศที่ 1รับรางวัลเงินสด 80,000 บาท พร้อมโล่ ทีมรองชนะเลิศที่ 2รับรางวัลเงินสด 50,000 บาท พร้อมโล่ จากรมต.มหาดไทย และ รมต.สาธารณสุข ชนะเลิศ ระดับเขตผู้ตรวจกระทรวงสาธารณสุข (18 เขต) รางวัลเงินสด 20,000 บาท พร้อมโล่ จากรมต.มหาดไทย และ รมต.สาธารณสุข “ฆ้องทองคำ”สำหรับจังหวัดที่ประชาสัมพันธ์สร้างสรรค์ เชิญชวนคนในจังหวัดมาร่วมไร้พุงยอดเยี่ยม 1 รางวัล

  23. สวัสดีครับ กรมอนามัย "ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"

More Related