1 / 24

การใช้งาน LaTeX เบื้องต้น

การใช้งาน LaTeX เบื้องต้น. ผศ.ดร.ชัยพร ใจแก้ว ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. LaTeX คืออะไร. อ่านว่า "ลา-เท็ก" หรือ "เลย์-เท็ก" โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับจัดเรียงพิมพ์และสร้างสูตรคณิตศาสตร์ ไม่จัดเป็นโปรแกรมจำพวกเวิร์ดโพรเซสเซอร์

aine
Download Presentation

การใช้งาน LaTeX เบื้องต้น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้งาน LaTeX เบื้องต้น ผศ.ดร.ชัยพร ใจแก้ว ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  2. LaTeX คืออะไร • อ่านว่า "ลา-เท็ก" หรือ "เลย์-เท็ก" • โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับจัดเรียงพิมพ์และสร้างสูตรคณิตศาสตร์ • ไม่จัดเป็นโปรแกรมจำพวกเวิร์ดโพรเซสเซอร์ • ไม่ใช่โปรแกรมแบบ WYSIWYG • ไฟล์เอกสารสร้างขึ้นจากการคอมไพล์ซอร์สโค้ด • De Facto standard สำหรับการเขียนงานเชิงวิชาการ โดยเฉพาะสาขาคอมพิวเตอร์และคณิตศาสตร์ • ปัจจุบันอยู่ที่เวอร์ชัน LaTeX2

  3. LaTeX Distributions • LaTeX Distributions • Linux – TeXLive • Windows – MikTeX • Mac OS X – MacTeX • เอดิเตอร์สำหรับจัดการเอกสาร LaTeX โดยเฉพาะ • Texwork, Texshop, Texmaker • โปรแกรม WYSIWYG สำหรับ LaTeX • Lyx

  4. โครงสร้างซอร์สไฟล์ LaTeX \documentclass{article} \title{Having Fun with LaTeX} \author{Chaiporn Jaikaeo} \begin{document} \maketitle Hello LaTeX \end{document} ระบุประเภทเอกสาร ส่วน Preamble ระบุจุดเริ่มต้นเนื้อความ ส่วน body ระบุจุดสิ้นสุดเนื้อความ

  5. การประมวลผลซอร์สไฟล์ ไฟล์.ps dvips ไฟล์.dvi latex ไฟล์.tex ps2pdf dvipdf ไฟล์.pdf pdflatex DVI – Device-Independent filePS – PostScript file

  6. คำสั่งใน LaTeX • ขึ้นต้นด้วย \ เสมอ • Case sensitive • ประกอบด้วยตัวอักษรเท่านั้น ไม่มีตัวเลข • บางคำสั่งรับพารามิเตอร์เพิ่มเติม • ใช้ [] สำหรับ optional parameter • ใช้ {} สำหรับ required parameter

  7. การระบุขอบเขตสภาพแวดล้อมการระบุขอบเขตสภาพแวดล้อม • ใช้คำสั่ง \begin{ชื่อสภาพแวดล้อม} … เพื่อระบุจุดเริ่มต้นการใช้งานสภาพแวดล้อม • และ \end{ชื่อสภาพแวดล้อม} กำหนดจุดสิ้นสุด • ตัวอย่าง • \begin{itemize}…\end{itemize} • \begin{displaymath}…\end{displaymath} • สภาพแวดล้อมแต่ละชนิดมีคำสั่งที่ใช้ได้แตกต่างกันไป

  8. โปรแกรม Texmaker • เอดิเตอร์สำหรับจัดการเอกสาร LaTeX • Word/command completion • แสดงโครงสร้างเอกสาร • ชอร์ทคัทสำหรับ • จัดฟอร์แมตคำ • แทรกสัญลักษณ์คณิตศาสตร์ • เรียก LaTeX คอมไพเลอร์และ PDF Viewer

  9. หน้าจอ Texmaker ปุ่มเรียกคอมไพเลอร์และวิวเวอร์ ซอร์สโค้ด โครงสร้างเอกสาร

  10. หลักการสร้างเอกสาร • เน้นเนื้อหาและโครงสร้างเอกสาร • ได้แก่ ชื่อเรื่อง บทคัดย่อ หัวข้อ ฯลฯ • อย่า (รีบ) เน้นการจัดหน้ากระดาษ • เทมเพลทจากการประชุมวิชาการส่วนใหญ่จะจัดการให้ทั้งหมด • หลีกเลี่ยงการฮาร์ดโค้ดเลขอ้างอิง • อ้างผ่านชื่อจุดอ้างอิงที่สร้างเอาไว้ • เช่น ... as described in Section \ref{s:intro} • แทนที่จะเป็น ... as described in Section 1

  11. โครงสร้างบทความทางวิชาการโครงสร้างบทความทางวิชาการ • \title{หัวข้อ} • \author{ชื่อผู้แต่ง} • ถ้ามีมากกว่าหนึ่ง ใช้คำสั่ง \and คั่น • \thanks{…} • สร้างเชิงอรรถ (มักใช้ระบุหน่วยงานของผู้แต่ง) • Abstract • ใส่ไว้ระหว่าง \begin{abstract} และ \end{abstract} • ใช้คำสั่ง \keywords ระบุคำสำคัญ

  12. หัวข้อและหัวข้อย่อย • บทความทางวิชาการควรแบ่งเป็นหัวข้อ และหัวข้อย่อย เช่น 1, 2, 2.1, 2.2, ฯลฯ • ใช้คำสั่ง • \section{…} • \subsection{…} • \subsubsection{…}

  13. บรรณานุกรม • หากมีจำนวนไม่มาก สร้างเองโดยใช้สภาพแวดล้อม • \begin{bibliography}{ฟอร์แมตตัวเลข} \begin{thebibliography}{ฟอร์แมตตัวเลข} \bibitem{label}… \end{thebibliography}

  14. การขึ้นบรรทัดใหม่ • การขึ้นบรรทัดใหม่ในซอร์สโค้ดไม่มีผลต่อการขึ้นบรรทัดใหม่ในเอกสาร • คำสั่ง \\ หรือบรรทัดว่างระบุการขึ้นบรรทัดใหม่ This is a line. This text appears in the same line. This text appears in another line.

  15. คอมเม้นต์ • LaTeX ใช้ % เป็นตัวระบุคอมเม้นต์ This is shown. % but this is not % this entire line is a comment.

  16. การอ้างอิง • สร้างและตั้งชื่อจุดอ้างอิงโดยใช้คำสั่ง \label • อ้างถึงจุดอ้างอิงโดยใช้คำสั่ง \ref • ควรเรียกคำสั่งคอมไพล์สองรอบเพื่อให้ LaTeX พบจุดอ้างอิงหมดทุกจุด \section{Introduction}\label{s:intro} : : This idea has been discussed in Section \ref{s:intro}.

  17. รายการ (List) • สร้างโดยใช้สภาพแวดล้อม enumerate และ itemize • ในสภาพแวดล้อมทั้งคู่มีคำสั่ง \item สำหรับสร้างรายการ \begin{enumerate} % numbered list \item Item 1 \item Item 2 \end{enumerate} \begin{itemize} % bullet list \item Item 1 \item Item 2 \end{itemize}

  18. การสร้างสูตรคณิตศาสตร์การสร้างสูตรคณิตศาสตร์ • คำสั่งทางคณิตศาสตร์เรียกใช้ได้ในสภาพแวดล้อมแบบ math • \begin{math}…\end{math} • \begin{displaymath}…\end{displaymath} • \begin{equation}…\end{equation} • \begin{eqnarray}…\end{eqnarray} • สภาพแวดล้อม math และ displaymath สามารถใช้ $ และ $$ แทนได้ • ใช้ \( … \) และ \[ … \] แทนได้เช่นกัน

  19. การสร้างสูตรคณิตศาสตร์การสร้างสูตรคณิตศาสตร์ • $ ใช้สร้างสูตรแบบ inline • $$ ใช้สร้างสูตรแบบแยกบรรทัด Let $s$ be a function such that $s(t) = t^2$ Let $s$ be a function such that $$s(t) = t^2$$

  20. คำสั่งทางคณิตศาสตร์ที่ใช้บ่อยคำสั่งทางคณิตศาสตร์ที่ใช้บ่อย • สัญลักษณ์กรีก • \alpha, \theta, \epsilon, \pi, \Pi • เศษส่วน • $\frac{a}{b}$ • ตัวยกและตัวห้อย • $x^2$, $x_2$ • ใช้ {} เพื่อจับกลุ่ม • $x^20$ ได้ผลลัพธ์เป็น x20 • $x^{20}$ ได้ผลลัพธ์เป็น x20

  21. คำสั่งทางคณิตศาสตร์ที่ใช้บ่อยคำสั่งทางคณิตศาสตร์ที่ใช้บ่อย • ลิมิตและอินทิเกรต \begin{displaymath} \lim_{x \to \infty} 3x \end{displaymath} \begin{displaymath} \int_0^20 x dx \end{displaymath}

  22. ฐานข้อมูลเอกสารอ้างอิงฐานข้อมูลเอกสารอ้างอิง • ในชุดโปรแกรม LaTeX มีคำสั่ง bibtex สำหรับจัดการกับฐานข้อมูลเอกสารอ้างอิง • ฐานข้อมูลเก็บในรูปเท็กซ์ไฟล์นามสกุล .bib @article{antbased, author = {Shen, Chien-Chung and Huang, Zhuochuan and Jaikaeo, Chaiporn}, title = {Ant-based distributed topology control algorithms for mobile ad hoc networks}, journal = {Wirel. Netw.}, volume = {11}, issue = {3}, month = {May}, year = {2005}, issn = {1022-0038}, pages = {299--317}, numpages = {19}, acmid = {1160096}, publisher = {Kluwer Academic Publishers}, address = {Hingham, MA, USA}, } ชื่ออ้างอิง

  23. การระบุฐานข้อมูลและการอ้างอิงการระบุฐานข้อมูลและการอ้างอิง • ใช้คำสั่ง \cite{ชื่ออ้างอิง} • ใช้คำสั่ง \bibliography{ชื่อฐานข้อมูล} เพื่อระบุฐานข้อมูลที่จะนำมาใช้ (ไม่ต้องใส่นามสกุล .bib) • ใช้คำสั่ง \bibliographystyle{ชื่อสไตล์} เพื่อกำหนดรูปแบบการเขียนเอกสารอ้างอิง • ไฟล์กำหนดรูปแบบมักดาวน์โหลดได้จากเว็บการประชุมวิชาการหรือเว็บของวารสารวิชาการ \bibliography{references} \bibliographystyle{spiebib}

  24. การคอมไพล์ latex ร่วมกับ bibtex สร้าง .aux ไฟล์ซึ่งระบุรายการเอกสารอ้างอิง pdflatex สร้างไฟล์ .bbl ที่จะถูกดึงมาเป็นส่วนของ bibliography bibtex สร้างเอกสารใหม่พร้อมส่วนbibliography pdflatex คอมไพล์อีกรอบเพื่อสร้างการอ้างอิงให้ครบถ้วน pdflatex

More Related