1 / 58

ดร . สมจินต์ ศรไพศาล , CFA, CFP บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทหารไทย จำกัด

ดร . สมจินต์ ศรไพศาล , CFA, CFP บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทหารไทย จำกัด. Prepared on 2 September 2010. จัดทัพลงทุน (สู่อิสรภาพทางการเงิน).

alaric
Download Presentation

ดร . สมจินต์ ศรไพศาล , CFA, CFP บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทหารไทย จำกัด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ดร.สมจินต์ ศรไพศาล, CFA, CFP บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทหารไทย จำกัด Prepared on 2 September 2010 จัดทัพลงทุน (สู่อิสรภาพทางการเงิน) การลงทุนมีความเสี่ยงผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลให้ดีก่อนตัดสินใจลงทุน เอกสารฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อให้ข้อมูลในการศึกษาเบื้องต้นเท่านั้น มิได้เป็นการแนะนำการลงทุนส่วนบุคคล

  2. จัดทัพลงทุน (สู่อิสรภาพทางการเงิน) 1. อิสรภาพทางการเงิน 2. เส้นทางเศรษฐี 3. จัดทัพลงทุน 4. ปฏิบัติการลงทุน (Automatic Investment Workshop) 2

  3. 1. ฝัน ... อยากจะรวย(อิสรภาพทางการเงิน)

  4. ฝัน...อยากจะรวย รวย มั่งคั่ง = รายได้ รายจ่าย (เน้นความมี) (เปรียบเทียบ ความมีกับความต้องการ)

  5. Survival Ratio อัตราส่วนความอยู่รอด ความมั่งคั่งระดับต้น รายได้จากการทำงาน + รายได้จากทรัพย์สิน = รายจ่าย Survival Ratio1อยู่รอดได้ด้วยตนเอง ความเป็นไทขั้นต้น คือ การอยู่รอดได้ด้วยตนเอง Independence, but still rely on oneself’s labour

  6. Wealth Ratio อัตราส่วนความมั่งคั่ง ความมั่งคั่ง Wealth Ratio1อิสรภาพทางการเงิน เป้าหมายสำคัญที่ควรจะตั้งไว้คือ การมีอิสรภาพทางการเงินในที่สุด รายได้จาก สินทรัพย์ * = รายจ่าย * รายได้จากสินทรัพย์หมายถึง รายได้จากเงินฝาก, หุ้น, ตราสารหนี้, กองทุนรวม, อสังหาริมทรัพย์ Financial Freedom : เสรีภาพทางการเงิน ที่มา : หนังสือจัดทัพลงทุนดร.สมจินต์ ศรไพศาล

  7. 2. เส้นทางเศรษฐี

  8. แปลงหยาดเหงื่อเป็นทรัพย์สินแปลงหยาดเหงื่อเป็นทรัพย์สิน เงินเดือน, โบนัส <---- การศึกษา, ประสบการณ์ ค่าเช่า <---- อพาร์ทเม้นท์, แท็กซี่ รายได้ - รายจ่าย กำไร เงินปันผล, ดอกเบี้ย <---- หุ้น, ตราสารหนี้, เงินฝาก ลงทุนในรูปแบบต่างๆ พ่อรวย:คนรวยนำกำไรไปลงทุนในทรัพย์สินซึ่งก่อให้เกิดรายได้มากขึ้น ทำให้กำไรมากขึ้น ส่วนชนชั้นกลางรีบร้อนเอาเงินกำไรไปดาวน์รถหรูและบ้านหลังใหญ่ซึ่งเป็นการก่อหนี้สินเพิ่มรายจ่ายและทำให้กำไรหดหายไป (คนรวยรู้จักอดเปรี้ยวไว้กินหวาน)

  9. พากเพียรในการทำงาน รายได้ -รายจ่าย กำไร รายได้ -รายจ่าย กำไร รายได้ -รายจ่าย ขาดทุน รายได้ -รายจ่าย กำไร คุมรายจ่าย ลงทุน ลงทุน พอเพียงในการจับจ่าย เพลิดเพลินในการลงทุน เส้นทางเศรษฐี

  10. รายจ่ายเล็กน้อยที่เป็นประจำ...อาจเปลี่ยนให้เป็นแหล่งเงินออมที่สำคัญรายจ่ายเล็กน้อยที่เป็นประจำ...อาจเปลี่ยนให้เป็นแหล่งเงินออมที่สำคัญ เงินออมเล็กน้อยที่ต่อเนื่อง สร้างฝันใหญ่ให้เป็นจริง

  11. 3. จัดทัพลงทุน

  12. อัตราผลตอบแทนของหุ้น พันธบัตร และเงินฝาก 1999-2009 หมายเหตุ Geo. Mean หมายถึง ค่าเฉลี่ยแบบทบต้น

  13. อัตราผลตอบแทนของหุ้น พันธบัตร และเงินฝาก1999-2009 อัตราผลตอบแทนการลงทุนในแต่ละปี หุ้น เงินรวม หากลงทุนเริ่มต้น 100 บาท ณ สิ้นปี 1998

  14. Total Return = Price Return + Dividend Yield ประเด็นเรียนรู้: 1. ผลตอบแทนของหุ้นมีสองส่วน คือ จากส่วนต่างของราคาและผลตอบแทนในรูปเงินปันผล 2. Price return ติดลบได้ แต่ Dividend Yield เป็นบวกเสมอ 3. Dividend Yield 3.45% ในปี 2008 อยู่บนฐานการคำนวณจากดัชนีต้นปีที่ 858.10 จุด แต่สำหรับผู้ที่ลงทุนต้นปี 1999 เงินปันผลนี้จะเท่ากับ Dividend Yield 8.32% 4. สำหรับนักเก็งกำไร(ลงทุนระยะสั้น) ผลกระทบหลักมาจากราคา แต่สำหรับนักลงทุนระยะยาว เงินปันผลจะมีผลมากเช่นกัน และจะสามารถทนรับความผันผวนของราคาได้ดีกว่า

  15. คำถามสำคัญ • ข้อสังเกต • ผลตอบแทนเฉลี่ยของหุ้นสูงกว่าของพันธบัตรและเงินฝากอย่างมีนัยสำคัญ(ข้อมูลอดีตของสหรัฐก็มีความคล้ายคลึงกัน) • แต่หุ้นมีความเสี่ยงสูง(ผันผวน)กว่าเป็นอย่างมากเช่นกัน • คำถามสำคัญ • ทำอย่างไรจึงจะสามารถได้ประโยชน์จากผลตอบแทนที่ดีของหุ้นและพันธบัตรโดยมีความเสี่ยงระดับที่ยอมรับได้ • คำตอบ • ต้องมีการกระจายความเสี่ยง (โดยการจัดทัพลงทุนในหลายประเภทหลักทรัพย์) • ต้องพยายามหลีกเลี่ยงการขาดทุนจำนวนมากให้ได้มากที่สุด (โดยพยายามเข้าใจเรื่องจังหวะและอารมณ์ของตลาด)

  16. ผู้รักษาประตู จัดทัพลงทุน (Asset Allocation) ทัพฟุตบอล ทัพลงทุน ทัพลงทุนจริง กองหน้า ทหารไทย SET50ทหารไทย JUMBO25 หุ้นทุน กองกลาง ทหารไทยธนไพศาลทหารไทยธนพลัส ตราสารหนี้ กองหลัง ทหารไทยธนบดีทหารไทยธนรัฐ ตราสารตลาดเงินเงินฝาก เงินสำรอง

  17. 10%Money Market 20%Bond 70%Stock Aggressive จัดการความเสี่ยงด้วยการกระจายการลงทุน 30%Money Market 30%Stock 40%Bond Conservative 20%Money Market 50%Stock 30%Bond Moderate หมายเหตุ Geo. Mean หมายถึง ค่าเฉลี่ยแบบทบต้น

  18. ผลตอบแทนจากการลงทุนสัดส่วน หุ้น 30% พันธบัตร 70% - No timing

  19. ผลตอบแทนจากการลงทุนสัดส่วน หุ้น 50% พันธบัตร 50% - No timing

  20. ผลตอบแทนจากการลงทุนสัดส่วน หุ้น 70% พันธบัตร 30% - No timing

  21. จับจังหวะลงทุน (Market Timing) เปรียบเสมือนการเลือกซื้อสิ้นค้าแต่ละแบบ เช่นการเลือกซื้อผลไม้ในฤดูต่างๆ โดยสำหรับสินทรัพย์ทางการเงินนั้นพิจารณาจาก ผลตอบแทนที่คาดหวังในอนาคต (Expected Return) พันธบัตร พิจารณาจากอัตราดอกเบี้ยของพันธบัตรระยะยาวอายุ 10 ปี หุ้น พิจารณาจากอัตราของการทำกำไรต่อราคา หรือ Earning Yield (Earning/Price)

  22. การหาค่า E/P กับ P/E ตัวอย่าง บริษัทไทแท้ มีผลกำไรต่อหุ้น(EPS) เท่ากับ 3 บาท โดยในปัจจุบันราคาหุ้น (P)ของบริษัทเท่ากับ 30 บาท ดังนั้น P = 30 , E = 3 P/E =30/3 = 10 E/P = EPS/Price = 3/30 = 10% E/P = 1/PE = 1/10 =10% ถ้าหุ้นของบริษัท ไทแท้ ซื้อขายกันที่ระดับ P/E 20 เท่า E/P = 1/PE = 1/20 = 5%

  23. ผลตอบแทนคาดหวังจากหุ้น,ตราสารหนี้,เงินฝากผลตอบแทนคาดหวังจากหุ้น,ตราสารหนี้,เงินฝาก ผลตอบแทนคาดหวังจากหุ้น– ใช้ อัตราส่วนของกำไรต่อหุ้น กับ ราคาหุ้น ในขณะนั้น (Earning Yield : E/P) เป็นตัวแทน E/P ของตลาดหุ้นก็คือส่วนกลับของ P/E ของตลาดในขณะนั้น ซึ่งจะเป็นตัวบอกถึงอัตราผลตอบแทนของการลงทุนจากพื้นฐานธุรกิจ หรือ กำไร เทียบกับราคาหุ้นที่เราซื้อมา ค่า P/E ของตลาดหุ้นนั้น มีรายงานทุกวันในหนังสือพิมพ์ธุรกิจทั่วไป หรือ ในเว็บไซท์ของตลาดหลักทรัพย์ www.set.or.th ผลตอบแทนคาดหวังจากตราสารหนี้– ใช้อัตราผลตอบแทนจากพันธบัตรรัฐบาลที่มีอายุ 10 ปี (10-Year Government Bond Yield) สามารถหาข้อมูลอัตราผลตอบแทนจากพันธบัตรรัฐบาลได้จากเว็บไซท์ www.thaibma.or.th หรือในหนังสือพิมพ์ธุรกิจทั่วไป ผลตอบแทนคาดหวังจากเงินฝาก– ใช้อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก 1 ปี(1-Year Deposit Rate)

  24. พรีเมี่ยมหุ้น กับ พรีเมี่ยมเวลา

  25. ปรับพอร์ท (น้ำหนักการลงทุนในหุ้น) เพื่อลดโอกาสขาดทุนที่รุนแรง หมายเหตุ: S30:B40:C30 หมายถึง การลงทุนใน Stock 30%, Bond 40%, Cash 30%

  26. สรุปขั้นตอนการจับจังหวะลงทุนเพื่อลดโอกาสขาดทุนที่รุนแรงสรุปขั้นตอนการจับจังหวะลงทุนเพื่อลดโอกาสขาดทุนที่รุนแรง หา P/E ของตลาดหุ้น ณ ต้นปี หา Yield ของพันธบัตรรัฐบาล ณ ต้นปี แปลง P/E เป็น E/P หรือ Earnings Yield หา Premium หุ้น โดยนำ E/P – Yield ของพันธบัตรรัฐบาล เหตุการณ์ :ตลาดอยู่ในภาวะมั่นใจจนเกินเหตุ (Over Optimistic) เหตุการณ์ :ตลาดอยู่ในภาวะกลัวจนเกินเหตุ (Over Pessimistic) Premium ต่ำกว่า 4-7% หรือไม่ ต่ำกว่า สูงกว่า Action : ลดสัดส่วนการลงทุนในหุ้น Action : เพิ่มสัดส่วนการลงทุนในหุ้น

  27. Analysis of Alternative Securities Markets Falling Inflation Recession Early recovery STOCKS BONDS Economy Slowing Down Economy Speeding Up CASH COMMODITIES Stagflation Late recovery Inflation Rising Source: Adapted from Schabacker, Jay. Winning in Mutual Funds

  28. มูลค่าเงินลงทุนในอนาคตเมื่อลงทุน 10,000 บาททุกเดือน

  29. 4. ปฏิบัติการลงทุน

  30. กองทุนรวม : ตัวช่วยในการลงทุน • โครงการลงทุนที่นำเงินของผู้ซื้อหน่วยลงทุนหลายๆ รายมารวมกันและบริหารกองทุนโดยมืออาชีพ จากนั้นจึงนำผลตอบแทนที่ได้มาเฉลี่ยกลับคืนให้กับผู้ซื้อหน่วยลงทุนตามสัดส่วนการลงทุน • เครื่องมือในการลงทุนสำหรับผู้ลงทุนรายย่อยที่ช่วยลดข้อจำกัดด้าน • ทุนทรัพย์, เวลา และ ข้อมูล • ประสบการณ์หรือความชำนาญในการลงทุน • ความเป็นมืออาชีพของผู้บริหารกองทุน • ติดตามสถานการณ์เศรษฐกิจและการลงทุนอย่างใกล้ชิด • มีความรู้ประสบการณ์ และความสามารถในการจัดการลงทุน • ได้รับการอบรมผ่านการทดสอบตามเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด

  31. Tax Benefit Professional Cost Advantage • กระจายความเสี่ยงการลงทุนในหุ้น ตราสารหนี้ ทั้งในและต่างประเทศ • ค่าธรรมเนียม การจัดการอยู่ในช่วง 0.2 - 1.5 % • ได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี สำหรับ บุคคลธรรมดา นิติบุคคลจดทะเบียน และ นิติบุคคลทั่วไปตามตารางแนบ • รายงานภาวการณ์ลงทุนรายเดือน และ นำเสนอ กลยุทธ์การลงทุน รายไตรมาส โดยทีมผู้จัดการกองทุน และ นักวิจัยที่มีประสบการณ์ ข้อดีของการลงทุนในกองทุนรวม Diversification Mutual Fund Holders

  32. สิทธิประโยชน์ทางภาษี

  33. ทำความรู้จักRMF/LTF • RMF (Retirement Mutual Fund)คือ กองทุนที่เป็นทางเลือกหนึ่งในการออมเงิน ไว้ใช้ในวัยเกษียณและผู้ลงทุนจะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี ซึ่งนำมาหักลดหย่อนได้ไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินได้พึงประเมิน แต่ไม่เกิน 500,000 บาทต่อปี เมื่อรวมกับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ/กบข.(ปฎิบัติตามเงื่อนไข) • LTF (Long Term Equity Fund)คือ กองทุนที่เน้นการลงทุนในหุ้นที่จะลงทุนระยะยาวในตลาดหลักทรัพย์ เพื่อช่วยให้ตลาดทุนไทยมีเสถียรภาพ และผู้ลงทุนจะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี ได้จำนวนไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินได้พึงประเมิน แต่ไม่เกิน 500,000บาท (ปฎิบัติตามเงื่อนไข)

  34. สิทธิประโยชน์ทางภาษีพิเศษ สำหรับ LTF และ RMF

  35. การคำนวณภาษี กรณีซื้อ LTF/RMF *เงินได้สุทธิ หักค่าใช้จ่าย(40%ไม่เกิน 60,000บ.),ค่าลดหย่อนส่วนตัว 30,000บ. และประกันสังคม 9,000 บ. โดยซื้อ RMF/LTF 15% ของรายได้ สำหรับการลดหย่อนด้วย RMF/LTF **ตารางที่แสดงเป็นการประเมินเท่านั้น ผู้ลงทุนแต่ละรายอาจมีการลดหย่อนที่แตกต่างกัน

  36. Automatic Investment Workshop (สู่อิสรภาพทางการเงิน)

  37. AIP ช่วยเปลี่ยน นิสัยจากใช้จ่ายก่อน ออมทีหลัง รายได้ -รายจ่าย เงินออม เน้นการใช้จ่ายระยะสั้น เป็น วินัยที่ออมก่อนแล้วจึงใช้จ่าย รายได้ -เงินออม รายจ่าย เพื่อเป้าหมายระยะยาว

  38. จ่ายให้ตัวเองก่อน เงินที่เหลือใช้จ่ายได้อย่างสบายใจ มีเงินไว้ใช้ยามฉุกเฉิน เข้าใกล้เป้าหมายที่ตั้งใจ ไม่ต้องทำตารางใช้จ่ายทุกเดือน ภูมิใจในตนเอง ความรู้สึกมั่นคงในชีวิต มีความมั่งคั่งทางการเงิน รายได้ -เงินออม รายจ่าย

  39. The Bridge ช่องว่างระหว่างความรู้ กับความมั่งคั่งของเศรษฐีเงินล้านที่สร้างตัวจาก 2 มือ และชนชั้นกลางโดยทั่วไปนั้น มิได้เกิดจากพื้นฐานทางการศึกษาหรือการประกอบอาชีพเป็นสำคัญ สิ่งสำคัญที่สร้างช่องว่างนั้นก็คือ “ความมีวินัยในการลงทุน” การลงทุนอย่างสม่ำเสมอ (Automatic Investment) กับ บลจ.ทหารไทย จะเป็นสะพานแห่งความมีวินัยสำหรับทุกๆ ท่านที่จะใช้ทอดไปสู่อิสรภาพทางการเงิน

  40. ลงทุนอย่างสม่ำเสมอ Automatic Investment • การสร้างวินัย ในการออมและลงทุน โดยการหักบัญชีอัตโนมัติ • จากบัญชีธนาคารเท่ากันทุกเดือน เพื่อนำไปลงทุนในกองทุน ที่ลูกค้าได้เลือกไว้ โดยเริ่มต้นจากการวางเป้าหมายทางการเงินของ • แต่ละคน ซึ่งจะเป็นการสร้างกำลังใจ และเพิ่มศักยภาพของเป้าหมาย • ทางการเงิน และโอกาสของการบรรลุเป้าหมายนั้นได้เป็นอย่างดี • ได้เปรียบด้านต้นทุน ด้วยหลักการ Dollar Cost Averaging • สะดวกสบายสำหรับผู้ลงทุน มีความยืดหยุ่นสูง ผู้ลงทุนสามารถเลือกกองทุนที่ตนชอบได้ตามต้องการ และปรับเปลี่ยนรูปแบบการลงทุนได้ด้วยตัวเอง บน Website

  41. DollarCost Average SET50 7.20 6.20 5.80 5.60 เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. สัจธรรม : ต้นทุนเฉลี่ย (6.14) น้อยกว่า ราคาเฉลี่ย (6.20) เสมอ!

  42. ต้นทุนเฉลี่ย (Dollar-Cost Average) ดีขึ้น • DCAหมายถึง การลงทุนด้วยจำนวนเงินที่เท่าๆกันอย่างสม่ำเสมอ ในสินทรัพย์ ที่ได้เลือกไว้ • การลงทุนแบบ DCA สามารถให้ต้นทุนเฉลี่ยที่ถูกกว่า เพราะ • ในกรณีหุ้นถูกจำนวนเงินที่เท่ากันจะทำให้ซื้อหุ้นได้ในจำนวนหน่วย ที่มากขึ้น • ในกรณีที่หุ้นแพงจำนวนเงินที่เท่ากันจะทำให้ซื้อหุ้นได้ในจำนวน หน่วยที่น้อยลง • ดังนั้นการซื้อแบบสม่ำเสมอทำให้มีต้นทุนเฉลี่ยถูกกว่าราคาเฉลี่ยของตลาด • ปัจจัยของความสำเร็จของกลยุทธ์ DCA คือ ความมีวินัย และความสม่ำเสมอ • ในการลงทุนให้ความได้เปรียบด้านต้นทุน

  43. Automatic Investment Workshop ตั้งเป้าหมาย รู้จักตนเอง รู้จักการลงทุน ลงมือปฏิบัติเพื่อไปสู่เป้าหมาย

  44. ตั้งเป้าหมาย • ความฝันลำดับที่ 1 • งบประมาณเท่าใด • ภายในระยะเวลาเท่าใด เก็บเงินดาวน์บ้าน 1,000,000 บาท (1) 7 ปี (2)

  45. 2. รู้จักตนเองความสามารถในการรับความเสี่ยง : แบบทดสอบตนเอง เลือกคำตอบที่ตรงกับตัวเอง สำหรับคำถาม 8 ข้อต่อไปนี้ ข้อ 1. ช่วงเวลาที่ท่านต้องการลงทุน (1) ระยะสั้น (น้อยกว่า 5 ปี) (2) ระยะกลาง (5 ปี ถึง 10 ปี) (3) ระยะยาว (มากกว่า 10 ปี)

  46. ความสามารถในการรับความเสี่ยง : แบบทดสอบตนเอง (ต่อ) ข้อ 2. ท่านวางแผนทำงานอีกกี่ปีจึงจะเกษียณ (1) น้อยกว่า 1 ปี หรือปัจจุบันเกษียณแล้ว (2) 1 ปี ถึง 10 ปี (3) มากกว่า 10 ปี ข้อ 3. ประสบการณ์ในการลงทุนของท่าน (1) มีประสบการณ์น้อยกว่า 2 ปี (2) มีประสบการณ์ 2 ถึง 5 ปี (3) มีประสบการณ์ 5 ปีขึ้นไป

  47. ความสามารถในการรับความเสี่ยง : แบบทดสอบตนเอง (ต่อ) ข้อ 4. กระแสเงินทุนที่ท่านจะนำมาลงทุน (1) จะต้องทยอยลดเงินลงทุนลง (2) เงินลงทุนคงที่ไม่เพิ่มไม่ลด (3) จะเพิ่มเงินลงทุนต่อเนื่อง ข้อ 5. กระแสรายได้อื่น (เช่น เงินเดือน ค่าเช่า ดอกเบี้ย เงินปันผล เป็นต้น) ของตัวท่าน (1) มีแหล่งรายได้อื่นน้อยมาก เช่น ผู้เกษียณอายุ (2) มีแหล่งรายได้อื่นพอประมาณ (3) แหล่งรายได้อื่นเพียงพอต่อการใช้จ่ายอย่างสบาย ทั้งยังมั่นคงและต่อเนื่อง

  48. ความสามารถในการรับความเสี่ยง : แบบทดสอบตนเอง (ต่อ) ข้อ 6. ผลตอบแทนที่คาดหวังจากการลงทุน (1) น้อยกว่า 5% ต่อปี (2) 6% - 10% ต่อปี (3) มากกว่า 10% ต่อปี ข้อ 7. ความสามารถในการรับสภาพความผันผวน และ ความเสี่ยงต่อ การขาดทุนของตัวท่าน (1) รับความผันผวน และ ความเสี่ยงต่อการขาดทุนได้น้อยมาก (2) พอจะรับความผันผวนของมูลค่าเงินลงทุนได้พอสมควร แต่ไม่อยากเสี่ยงต่อการขาดทุนมากนัก (3) พร้อมรับสภาพความผันผวนของมูลค่าเงินลงทุน และ ความเสี่ยงจากการขาดทุนได้ ถ้ามีโอกาสทำกำไร

  49. ความสามารถในการรับความเสี่ยง : แบบทดสอบตนเอง (ต่อ) ข้อ 8. วัตถุประสงค์การลงทุนของท่าน (1) ได้รับรายได้ประจำ (2) ได้รับรายได้ และมีการเติบโตของเงินลงทุน (3) การเติบโตของเงินลงทุนในระยะยาว

  50. 2 3 2 2 2 2 2 3 18 √ ความสามารถในการรับความเสี่ยง : ผลการทดสอบ การคิดคะแนน เลือกคำตอบหมายเลข 1 ได้ 1 คะแนน เลือกคำตอบหมายเลข 2 ได้ 2 คะแนน เลือกคำตอบหมายเลข 3 ได้ 3 คะแนน

More Related