1 / 33

การบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน

การบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน. โดย นายดุสิต เขมะศักดิ์ชัย รองผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ. 2 ธันวาคม 2553. หั วข้อการบรรยาย. ระบบงบประมาณในปัจจุบัน การบริหารงบประมาณ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงบประมาณ.

alena
Download Presentation

การบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน โดย นายดุสิต เขมะศักดิ์ชัย รองผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ 2 ธันวาคม 2553

  2. หัวข้อการบรรยาย • ระบบงบประมาณในปัจจุบัน • การบริหารงบประมาณ • กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงบประมาณ

  3. ระบบงบประมาณในปัจจุบัน :ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์Strategic Performance based Budgeting : SPBB

  4. ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ Concept • ใช้งบประมาณเป็นตัวเชื่อมโยงนโยบายไปสู่การปฏิบัติ (Top-down Budgeting) • มุ่งเน้นผลงาน (output / outcome-oriented)

  5. ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์ เป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายและ ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศ ให้กระทรวง ทบวง กรม มีบทบาท/ อำนาจตัดสินใจ ในการจัดสรรทรัพยากรมากขึ้น เป็นระบบควบคุม ตรวจสอบ ที่มีประสิทธิภาพ และ โปร่งใส

  6. ใช้นโยบายเป็นตัวนำ (Policy Driven) มีการจัดลำดับความสำคัญของเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ การรักษาวินัยทางการคลัง เน้นการบริการประชาชน มีการคาดการณ์ล่วงหน้า คำนึงถึงการวัดผลสำเร็จในการดำเนินงาน หลักการของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ หลักการเชิงนโยบาย หลักการเชิงบริหาร • การมอบอำนาจการตัดสินใจ • ใช้หลักการธรรมาภิบาล (ความโปร่งใสและความรับผิดชอบ) • ให้มีความคล่องตัวในการบริหาร • ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล • มีการติดตามประเมินผลและมีข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์

  7. ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ประโยชน์ตามกลุ่มเป้าหมาย รัฐสภา รัฐบาล ส่วนราชการ ประชาชน • สามารถอนุมัติงบประมาณตามนโยบายที่แถลงต่อรัฐสภาได้ชัดเจนยิ่งขึ้น • สามารถตรวจสอบรัฐบาลได้ตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ • สามารถตรวจสอบหน่วยปฏิบัติได้ตามเป้าหมายการให้บริการ • บริหารนโยบายได้ตามเป้าหมายที่สัญญากับประชาชนและที่แถลงต่อรัฐสภา • มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ • ใช้ทรัพยากรของประเทศอย่างคุ้มค่า และเกิดประโยชน์สูงสุด • สามารถบริหารงานได้อย่างคล่องตัว และมีประสิทธิภาพ ตลอดจนบรรลุ ผลสำเร็จตาม เป้าหมาย • ได้รับบริการและการแก้ไขปัญหาที่ดีขึ้น • มีคุณภาพชีวิตที่ดี • ได้รับข้อมูลข่าวสารครบถ้วน รวดเร็ว

  8. โครงสร้างชั้นข้อมูล SPBB ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ระดับชาติ/รัฐบาล National/GovernmentStrategy Major Key Success Factors Key Success Factors แผนบริหารราชการ 4ปี เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Target) GFMIS Government Strategic Direction r แผนปฏิบัติราชการ 4ปี เป้าหมาย การให้บริการ (PSA/SDA) Key Performance Indicators แผนปฏิบัติราชการประจำปี แผนปฏิบัติราชการ 4ปี Output Performance (QQTC) BIS ผลผลิต (Output) การกำหนดทางเลือก ในการผลิตและการใช้ทรัพยากร แผนปฏิบัติราชการประจำปี ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ Ev MIS กระบวนการ จัดทำผลผลิต (Delivery Process) PART AMIS ทรัพยากร (Resources) Evaluation

  9. ประมาณการรายได้ • กำหนดวงเงินโครงสร้าง งปม. • กำหนดยุทธศาสตร์จัดสรร • ทบทวนผลผลิต • ปรับปรุงฐานข้อมูล MTEF การวางแผนงบประมาณ การจัดทำงบประมาณ กระบวนการงบประมาณ • จัดทำแผน งปม. เชิงยุทธศาสตร์ • จัดทำ คำขอ งปม. • พิจารณาคำขอ งปม. • จัดทำร่าง พรบ. งบประมาณ • เสนอร่าง พรบ. งบประมาณ การประเมินผล • ก่อนการดำเนินงาน • ระหว่างการดำเนินงาน • หลังการดำเนินงาน การอนุมัติงบประมาณ การบริหารงบประมาณ • พิจารณาร่าง พรบ. งบประมาณ โดยฝ่ายนิติบัญญัติ • การตราพระราชบัญญัติ • จัดทำแผนปฏิบัติงาน • จัดทำแผนใช้จ่ายงบประมาณ • จัดสรรงบประมาณ กระบวนการงบประมาณภายใต้ระบบงบประมาณฯ 1 5 2 4 3

  10. การบริหารงบประมาณBudget Execution

  11. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง • พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 • ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 • ระเบียบการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549

  12. การบริหารงบประมาณ พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปี 1 3 ส่วนราชการ 2 รัฐมนตรี จัดทำและดำเนินการ • แผนปฏิบัติงานและ แผนการใช้จ่ายงบประมาณ • จัดซื้อ/จัดจ้าง/ก่อหนี้ผูกพัน มอบหมาย/เห็นชอบ/กำกับ 6 ปรับกลยุทธ์ ตามสถานการณ์ 5 คณะรัฐมนตรี 7 ปรับแผนกลางปี • กำกับการดำเนินงาน • การใช้จ่ายและความสำเร็จ สำนักงบประมาณ 4 กรมบัญชีกลาง 4 • วิเคราะห์แผนและ • กำหนดกรอบจัดสรรให้ • สอดคล้องกับการใช้จ่าย • และระเบียบ • เห็นชอบ/กำกับ แผนการเบิกจ่าย งบประมาณ

  13. การบริหารงบประมาณ กระบวนการใช้จ่ายเงินงบประมาณ 1. การจัดทำแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ 2. การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย 3. การใช้จ่ายงบประมาณรายจ่าย 4. การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่าย 5. การรายงานผล

  14. 1. การจัดทำแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ • เมื่อร่าง พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี ผ่านการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร วาระที่ 1 ส่วนราชการเตรียมความพร้อมและวางแผนปฏิบัติงาน • เมื่อร่าง พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี ผ่านการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร วาระที่ 3 ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ตามรายการและวงเงินที่ได้รับอนุมัติ และส่งให้สำนักงบประมาณก่อนวันเริ่มต้นปีไม่น้อยกว่า 15 วัน

  15. 2. การจัดสรรงบประมาณ • สงป. พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ • สงป. จัดสรรงบประมาณให้ส่วนราชการใช้จ่ายหรือก่อหนี้ผูกพันตามวัตถุประสงค์ และภายในระยะเวลาที่กำหนดตามวงเงินงบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากรัฐสภา ตาม พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี

  16. 3. การใช้จ่ายงบประมาณ การใช้จ่ายจากงบประมาณรายจ่าย “การเบิกจ่ายเงินจากคลัง” โดยเบิกจ่ายตามงบรายจ่าย

  17. ประเภทงบรายจ่าย • งบบุคลากร • งบดำเนินงาน • งบลงทุน • งบเงินอุดหนุน • งบรายจ่ายอื่น

  18. 4. การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ ในกรณีเกิดความจำเป็นตามสถานการณ์ ที่จะต้องเปลี่ยนแปลงเป้าหมาย กลยุทธ์ หรือประมาณการค่าใช้จ่ายที่แตกต่างไปจากที่ได้รับอนุมัติจากรัฐสภา

  19. การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ มี 2 กรณี 1. กรณีที่เป็นอำนาจ ส่วนราชการ 2. กรณีที่เป็นอำนาจ สำนักงบประมาณ ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548

  20. กรณีที่เป็นอำนาจส่วนราชการกรณีที่เป็นอำนาจส่วนราชการ ภายใต้แผนงานเดียวกัน • โอนเปลี่ยนแปลงข้ามผลผลิต แต่งบรายจ่ายเดียวกัน • โอนเปลี่ยนแปลงข้ามงบรายจ่าย ภายใต้ผลผลิตเดียวกัน • เปลี่ยนแปลงรายการ/จำนวนเงิน ภายใต้ผลผลิตเดียวกัน • โอนเปลี่ยนแปลงเพื่อจัดหาครุภัณฑ์ วงเงินต่อหน่วยต่ำกว่า 1 ลบ. • โอนเปลี่ยนแปลงเพื่อจัดหาสิ่งก่อสร้าง วงเงินต่อหน่วยต่ำกว่า 10 ลบ. • โอน/เปลี่ยนแปลงงบประมาณรายการครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง ที่ไม่อาจจัดหาได้ หรือนำเงินนอกงบประมาณไปสมทบ เพื่อเพิ่มวงเงินรายการครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้างนั้นได้ไม่เกินร้อยละ 10 ของวงเงินที่ได้รับจัดสรร

  21. ข้อยกเว้นการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณข้อยกเว้นการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ • ต้องไม่ก่อให้เกิดรายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ • ต้องไม่เป็นการกำหนดอัตราข้าราชการใหม่ • ต้องไม่เป็นรายการค่าที่ดิน • ต้องไม่เป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราวที่ไม่ได้กำหนดไว้ในแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักงบประมาณแล้ว

  22. การโอนเปลี่ยนแปลงเงินเหลือจ่าย • การใช้เงินเหลือจ่ายมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่าย และปรับปรุงหรือพัฒนาองค์กร • เป็นเงินเหลือจ่ายจากการดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายแล้ว จัดซื้อจัดจ้างแล้ว หัวหน้าส่วนราชการนำไปใช้จ่ายได้ ภายใต้แผนงานเดียวกัน

  23. ข้อยกเว้นการโอนเปลี่ยนแปลงเงินเหลือจ่ายข้อยกเว้นการโอนเปลี่ยนแปลงเงินเหลือจ่าย • ต้องไม่เป็นรายการค่าที่ดิน • ต้องไม่เป็นรายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ • ต้องไม่มีหนี้ค่าสาธารณูปโภคค้างชำระเมื่อสิ้นปีงบประมาณ • ต้องไม่มีค่าใช้จ่ายที่จำเป็นต้องจ่ายตามข้อผูกพันสัญญาค้างชำระ เช่น ค่างานตามสัญญาแบบปรับราคาได้ (ค่า K)

  24. กรณีที่เป็นอำนาจสำนักงบประมาณกรณีที่เป็นอำนาจสำนักงบประมาณ • เริ่มผลผลิต/โครงการใหม่ (ครม.อนุมัติ) • เพิ่มเงินราชการลับ (ครม.อนุมัติ) • โอนเปลี่ยนแปลงข้ามแผนงานในภารกิจที่ไม่ได้กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติงาน

  25. การขอขยายระยะเวลาการเบิกจ่ายการขอขยายระยะเวลาการเบิกจ่าย • กรณีที่ส่วนราชการไม่สามารถก่อหนี้ได้ทัน ภายในปีงบประมาณ หรือจำเป็นต้องกันเงินไว้เบิกจ่ายเหลื่อมปี • ให้ทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง • กรณีที่ต้องขอขยายระยะเวลาการเบิกจ่ายเกินกว่าที่กระทรวงการคลังกำหนด ต้องเสนอให้ ครม. อนุมัติ

  26. การขออนุมัติใช้งบกลาง (Central Fund)รายการ เงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น ต่ำกว่า 10 ลบ. ผอ.สงป. อนุมัติ นรม.เห็นชอบ หรือ นรม.เสนอ ครม. อนุมัติหลักการ มากกว่า 10 ลบ. มากกว่า 100 ลบ. ครม.อนุมัติ

  27. งบประมาณผูกพันข้ามปีงบประมาณงบประมาณผูกพันข้ามปีงบประมาณ • มีระยะเวลาการใช้จ่ายเงินเกิน 1 ปีงบประมาณ • ต้องเสนอให้ ครม. อนุมัติรายการและวงเงินก่อนการก่อหนี้ผูกพัน

  28. การเปลี่ยนแปลงรายการผูกพันข้ามปีงบประมาณการเปลี่ยนแปลงรายการผูกพันข้ามปีงบประมาณ เปลี่ยนแปลงวงเงิน เสนอ ครม. อนุมัติ เปลี่ยนแปลงวงเงิน และขยายระยะเวลา การขยายระยะเวลา โดยไม่เปลี่ยนแปลงวงเงิน เสนอ รมต. ให้ความเห็นชอบ

  29. 5. การรายงานผล • รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ ตามตัวชี้วัดผลสำเร็จ • ระบุปัญหาอุปสรรค และเสนอแนวทางแก้ไข • ส่ง สงป. ภายใน 60 วัน นับตั้งแต่วันสิ้นปีงบประมาณ

  30. การมุ่งสู่งบประมาณสมดุลBalanced Budget

  31. งบประมาณสมดุล คือ การจัดทำงบประมาณในลักษณะที่มีการกำหนดให้รายได้เท่ากับรายจ่าย

  32. การมุ่งสู่งบประมาณสมดุล ต้องดำเนินการใน 3 ประเด็น • เพิ่มประสิทธิภาพในการหารายได้ • ลดรายจ่ายประจำในรายการสำคัญ เช่น • มาตรการใหม่ในการรักษาพยาบาลข้าราชการและลูกจ้าง • เงินสมทบในกองทุนต่างๆ จะมีการ ShareCostหรือออมล่วงหน้าจากผู้ได้รับประโยชน์ • จัดสรรงบประมาณรายจ่ายที่ส่งผลโดยตรงให้ประเทศสามารถเพิ่มรายได้ในอนาคต

  33. สำนักงบประมาณ www.bb.go.th ขอขอบคุณ

More Related