1 / 16

เวทีแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในประเทศไทย

เวทีแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในประเทศไทย. ดร.หลุยส์ เลอเบล ผู้อำนวยการ หน่วยวิจัยสังคมและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ llebel@loxinfo.co.th , louis@sea-user.org. ประเด็น. นโยบายและโครงการ ความรู้เกี่ยวกับการปรับตัว องค์ความรู้กับการปฏิบัติ

aliza
Download Presentation

เวทีแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เวทีแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในประเทศไทยเวทีแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในประเทศไทย ดร.หลุยส์ เลอเบล ผู้อำนวยการ หน่วยวิจัยสังคมและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ llebel@loxinfo.co.th, louis@sea-user.org

  2. ประเด็น • นโยบายและโครงการ • ความรู้เกี่ยวกับการปรับตัว • องค์ความรู้กับการปฏิบัติ • สู่ยุทธศาสตร์ ขออภัยในบางส่วนของเอกสารและคำพูดที่แปลผิดพลาดครับ

  3. นโยบายและโครงการ • ยุทธศาสตร์ แบบแผน และโครงการระดับชาติ • แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี ในด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ(2551-2555) • ได้มีการร่างแผนยุทธศาสตร์ 10 ปี ในด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (2553-2562) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ 3 ปี (2553-2555) • ภาครัฐอื่นๆ • กทม. ได้จัดทำรายงาน การประเมินผล การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในปี 2552 • กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจัดตั้งศูนย์จัดการความรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (CCKM)

  4. นโยบายและโครงการ 2 • มีส่วนร่วมในความตกลงระหว่างประเทศ • อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (UNFCCC) • ในปฏิญญาสิงคโปร์ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พลังงาน และ สิ่งแวดล้อม กับผู้นำอาเซียน (ASEAN) • ผู้ดำเนินการที่ไม่ได้มาจากภาครัฐ • มูลนิธิรักษ์ไทย (RaksThai)ได้เริ่มนำการปรับตัวมาเป็นส่วนหนึ่งของแผนงานการเตรียมความพร้อมของชุมชนเพื่อรับมือภัยพิบัติ • องค์การอ็อกแฟม (Oxfam)ได้ดำเนินงานในการปรับตัวในจังหวัดยโสธร

  5. เสนอแนะ 1 • ทางลือกที่ดีที่สุดสำหรับ เวที คือ ความร่วมมือและการสนับสนุนการจัดตั้ง CCKM • การทำงานกับศูนย์จัดการความรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและเครือช่ายของศูนย์ ซึ่งเชื่อมโยงกับหน่วยงานราชการต่างๆในประเทศไทยจะเหมาะกับการปรับตัวซึ่งมีลักษณะที่เกี่ยวข้องกับหลายฝ่าย

  6. ความรู้เกี่ยวกับการปรับตัวความรู้เกี่ยวกับการปรับตัว การวิจัย ส่วนใหญ่ ... • ทำความเข้าใจ ในการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ • ผลกระทบ ที่อาจจะเกิดขึ้น • ความเปราะบาง และ ความอ่อนไหว

  7. ความรู้เกี่ยวกับ ... • ความหลากหลายทางชีวภาพ • ทรัพยากรน้ำ • อาชีพทางการเกษตรและการดำรงชีพในชนบท • ถิ่นฐานมนุษย์ และ สุขภาพ • เช่นจาก ภัยน้ำท่วม

  8. การปรับตัว • การรับมือกับความไม่แน่นอน coping with uncertainty • การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง learning from experience • การสร้างความสามารถ ใน การปรับตัว building adaptive capacity • การเชื่อมโยงในการพัฒนาให้รวมเป็นหนึ่งอันเดียวกัน Integrating with development

  9. เสนอแนะ 2 ในเบื้องต้นน่าจะให้ความสำคัญใน 2 ส่วน • การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและการดำรงชีวิตในชนบท • ภัยพิบัติและการบริหารจัดการความเสี่ยงต่อสภาพภูมิอากาศในถิ่นฐานของมนุษย์

  10. องค์ความรู้กับการปฏิบัติองค์ความรู้กับการปฏิบัติ • องค์ความรู้มีการขยายมากขึ้น • งานวิจัยเป็นตัวชี้นำมีความจำเป็นมากขึ้น • ช่องว่าง เกิดจาก • ไม่มีความรู้ • ไม่สามารถเข้าถึงได้ • เข้าถึงได้แต่ไม่ได้นำมาใช้

  11. ประชุมเสวนาครั้งแรก... • พัฒนาศักยภาพให้สูงขึ้น • การประสานงาน และ ความร่วมมือ • พื้นที่ของชุมชน • ประสบการณ์

  12. สู่ยุทธศาสตร์ • ความสามารถ ในการปรับตัว • มีข้อจำกัดของทุกภาคส่วน • ความต้องการมีอยู่มาก • ในเชิงระยะยาวการลงทุนเป็นสิ่งที่จำเป็น • ให้ความสำคัญกับกลุ่มคนที่มีความเปราะบางหรือด้อยโอกาส • สำหรับผู้วางแผนยุทธศาสตร์และนโยบายการรับมือกับความไม่แน่นอน เป็นเรื่องที่สำคัญมาก

  13. การรับมือ กับความไม่แน่นอน • No-regrets ไม่มีทางเสีย • Reversible and flexible ทางเลือกที่สามารถทำตรงข้ามได้และมีความยืดหยุ่น • Wider safety margins ยอมลงทุนมากขึ้นเพื่อความปลอดภัยที่คุ้มค่า • Soft strategies ยุทธศาสตร์ที่ไม่จำเป็น ต้องมีการก่อสร้าง • Reduce decision-time horizons การตัดสินใจลงทุนเพื่อการใช้งานในช่วงเวลาที่สั้นกว่าเดิม

  14. การสร้างความสามารถ • การมีส่วนร่วม • เอาใจใส่ต่อสถาบัน • วิเคราะห์ผลกระทบจากนโยบายและสถาบัน

  15. เสนอแนะ 3 • การพัฒนาชุดฝึกอบรม สำหรับหน่วยงานของรัฐในระดับท้องถิ่น • การพัฒนาชุดฝึกอบรมโดยการแสดงให้เห็นจริงและการดำเนินการร่วมกับคณะกรรมการลุ่มน้ำ • ช่วยกระตุ้นให้มีการประเมินความต้องการในความสามารถของการปรับตัวโดยมีส่วนร่วมของชุมชนที่มีน่าจะได้รับผลกระทบมาก

  16. ขอบคุณครับ • ดุสิตา กระวานชิด • ชญานิศ กฤตสุทธาชีวะ • เหมือนปอง จันโทภาส • พิมพกานต์ เลอเบล • ราเจช โนเอล • ศุภกร ชินวรรโณ

More Related