1 / 80

สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ดร.อมรเทพ จาวะลา 5 มีนาคม 2557

สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ดร.อมรเทพ จาวะลา 5 มีนาคม 2557. CIMB Thai Bank Public Co. Ltd. เศรษฐกิจไทยจะเข้าสู่ภาวะถดถอยในครึ่งปีแรก... เมื่อไร้พระเอกขี่ม้าขาว . ประกอบการบรรยายในหัวข้อ

alodie
Download Presentation

สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ดร.อมรเทพ จาวะลา 5 มีนาคม 2557

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ดร.อมรเทพ จาวะลา 5มีนาคม 2557 CIMB Thai Bank Public Co. Ltd. เศรษฐกิจไทยจะเข้าสู่ภาวะถดถอยในครึ่งปีแรก... เมื่อไร้พระเอกขี่ม้าขาว ประกอบการบรรยายในหัวข้อ “สถานการณ์เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และการส่งออกไทยในปี 2556 แนวโน้มและปัจจัยที่มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยปี 2557” โรงแรมเซ็นจูรี พาร์ค

  2. สภาวะเศรษฐกิจโลก

  3. เศรษฐกิจโลกมีแนวโน้มเติบโตได้ดี โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ในขณะที่จีนอาจมีการชะลอลงเล็กน้อย ส่วนเศรษฐกิจอาเซียนยังคงแข็งแกร่งจากอุปสงค์ในประเทศและส่งออก ประมาณการอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ %yoy หมายเหตุ: f= คาดการณ์โดย CIMB Group 3

  4. สภาวะเศรษฐกิจสหรัฐฯ

  5. เศรษฐกิจสหรัฐ: ตลาดบ้านฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง แต่อาจจะชะลอตัวลงบ้างจาก QE Tapering ยอดขายบ้านมือสอง ยอดขายบ้านใหม่ Unit; as: Annual Rate unit; as: Annual Rate ยอดการเริ่มสร้างบ้านใหม่ ดัชนีซื้อขายบ้านที่รอปิดการขาย Index Mn. Unit; as: Annual Rate 5

  6. เศรษฐกิจสหรัฐ: หนี้สาธารณะของสหรัฐฯ เป็นเพียงส่วนหนึ่งของปัญหา ความขัดแย้งทางการเมืองเกี่ยวกับการปรับลดงบประมาณมีแนวโน้มรุนแรงต่อไป โดยเฉพาะไม่มีงบประมาณอื่นนอกจากสวัสดิการที่จะตัดได้ ดุลงบประมาณของสหรัฐฯ Federal Revenue and Spending Projection as a Percent of GDP ล้าน USD Public expenditures on different types USD bn Components of Total Spending under CBO’s Extended Baseline % of GDP Source: Congressional Budget Office (CBO) Source: Congressional Budget Office (CBO) 6 6

  7. เศรษฐกิจสหรัฐ: หนี้ครัวเรือนที่ยังอยู่ในระดับสูง การลดลงของการออม และการเพิ่มขึ้นของรายได้ในระดับต่ำ มีแนวโน้มทำให้การบริโภคของสหรัฐฯ ชะลอตัว ซึ่งมีผลเสียต่อการส่งออกของไทย การบริโภคภาคเอกชน (PCE) สัดส่วนของหนี้สินครัวเรือนต่อรายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง % %,(y-o-y) ที่มา: BEA ที่มา: Federal Reserve and BEA การออมภาคครัวเรือน Billion USD 7 ที่มา: Federal Reserve and BEA

  8. เศรษฐกิจสหรัฐ: อัตราการว่างงานและการทำงานต่ำระดับที่อยู่ในระดับสูง ทำให้รายได้ของแรงงานและครัวเรือนสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นในอัตราต่ำมาก แม้ว่าเศรษฐกิจจะฟื้นตัว อัตราการเปลี่ยนแปลง Average Weekly Earning หักอัตราเงินเฟ้อของแรงงานระดับ Non-Supervisory %,y-o-y http://data.bls.gov/pdq/SurveyOutputServlet ที่มา: WSJ

  9. เศรษฐกิจสหรัฐ: คาดว่าการที่เศรษฐกิจสหรัฐฯ ฟื้นตัวส่วนหนึ่งมาจากการลงทุนขณะที่การบริโภคเริ่มชะลอตัว อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ อัตราการขยายตัวของการลงทุนและการบริโภค %, y-o-y %, q-o-q: annual rate 9

  10. สภาวะเศรษฐกิจยูโรโซน

  11. สหภาพยุโรป: การฟื้นตัวของเศรษฐกิจ Euro Zone เกิดจากเยอรมนีเป็นหลัก อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ %,y-o-y ที่มา: Eurostat 11

  12. สหภาพยุโรป: เศรษฐกิจยุโรปเริ่มมีสัญญาณดีขึ้นโดยเฉพาะจากภาคการผลิต ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม index ที่มา: Eurostat 12

  13. สหภาพยุโรป: ประเทศที่มีปัญหา ได้แก่ โปรตุเกส สเปน ไอร์แลนด์ และกรีซ มีต้นทุนลดลงโดยผ่านกระบวนการ Deflation ที่เกิดจากเศรษฐกิจหดตัวติดต่อกันหลายปี ผลิตภาพแรงงานต่อหน่วย (Unit labor cost index) Real unit labor cost Nominal unit labor cost Index, 2008=100 Index, 2008=100 ที่มา: Eurostat ที่มา: Eurostat

  14. สหภาพยุโรป: ขีดความสามารถในการแข่งขันยังเพิ่มขึ้นไม่มากนัก อัตราการขยายตัวของการส่งออกของโปรตุเกส สเปน ไอร์แลนด์ และกรีซ %,y-o-y ที่มา: Eurostat 14

  15. สภาวะเศรษฐกิจญี่ปุ่น

  16. เศรษฐกิจญี่ปุ่นฟื้นตัว: เศรษฐกิจญี่ปุ่นขยายตัวในอัตราที่สูงกว่าที่คาดไว้จาก Abenomics’ 3 Arrows • มาตรการทางการเงินแบบ QE • มาตรการทางการคลัง • การปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ 16

  17. เศรษฐกิจญี่ปุ่นฟื้นตัว: การฟื้นตัวส่วนใหญ่เกิดจากการลดลงของค่าเงินจากมาตรการธนูดอกที่ 1 และการคาดการณ์ที่ดีขึ้นของผู้ประกอบการ ดัชนีความมั่นใจของธุรกิจญี่ปุ่น (TANKAN) ค่าเงินเยนต่อ USD Diffusion Index, % points USD: JPY “Favorable” “Unfavorable” 17

  18. เศรษฐกิจญี่ปุ่นฟื้นตัว: การฟื้นตัวมีแนวโน้มเป็นเพียงระยะสั้นถ้าไม่มีการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจจากการลดลงของค่าจ้างและหนี้สาธารณะที่สูงส่งผลให้รัฐบาลต้องขึ้นภาษีเพื่อหาเงินมาใช้ในการใช้จ่ายกระตุ้นเศรษฐกิจตามมาตรการธนูดอกที่ 2 หนี้สาธารณะต่อ GDP % • รายได้ครัวเรือนยังไม่เพิ่มขึ้น • หนี้สาธารณะสูงมากอาจจะต้องเพิ่ม VAT คาดว่าจะต้องเพิ่มจาก 5% เป็น 8% ในเดือนเมษายน 2557 • เศรษฐกิจญี่ปุ่นมีปัญหาสังคมคนชราทำให้เศรษฐกิจมีศักยภาพที่จะขยายตัวได้เพียงประมาณ 0.5% ในระยะยาว ดังนั้นต้องมีการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจจึงสามารถเติบโตในระยะยาว 18

  19. เศรษฐกิจญี่ปุ่นฟื้นตัว: มาตรการกระตุ้นทางการเงินช่วยให้เงินเยนอ่อนค่า อันสนับสนุนภาคการส่งออก ขณะที่เงินเฟ้อเร่งตัวขึ้น การส่งออก อัตราเงินเฟ้อทั่วไป %,y-o-y %,y-o-y 19

  20. สภาวะเศรษฐกิจจีน

  21. เศรษฐกิจจีน: การเกินดุลการค้าและเงินทุนไหลเข้านำไปสู่สภาพคล่องที่ล้นระบบ และ ปัจจัยที่เร่งฟองสบู่ก็คือในช่วงต้นปี 2552 รัฐบาลจีนให้สถาบันการเงินเร่งปล่อยสินเชื่อทำให้สินเชื่อขยายตัวมากอย่างไม่เคยมีมาก่อน อัตราการเปลี่ยนแปลงของสินเชื่อและปริมาณเงิน (M2) %,y-o-y เงินสำรองระหว่างประเทศ bn, USD มูลค่าการเปลี่ยนแปลงของ GDP และสินเชื่อสถาบันการเงิน bn, RMB 21 21 *หมายเหตุ : 6.1322 RMB = 1 USD as of July 3,2013

  22. เศรษฐกิจจีน: Shadow Banking* และ Trust companies เริ่มมีบทบาทมากขึ้นใน 3 ปีที่ผ่านมา *Shadow Banking คือกรณีที่สถาบันการเงินที่ระดมทุนและปล่อยสินเชื่อโดยไม่ผ่านระบบธนาคารพาณิชย์และตลาดทุน เช่น Trust Companies ที่ส่วนใหญ่เป็นบริษัทลูกของธนาคาร, Wealth Management Products ที่ส่วนใหญ่ขายโดยธนาคารพาณิชย์ โดยให้ผลตอบแทนสูงกว่าเงินฝาก และนำเงินไปปล่อยสินเชื่อกับบริษัทหรือโครงการที่ไม่สามารถกู้เงินจากธนาคารได้ และอื่นๆ 22

  23. เศรษฐกิจจีน: สถานการณ์ของจีนไม่ต่างจากประเทศที่เคยมีปัญหาวิกฤติการเงิน 23

  24. เศรษฐกิจจีน: จีนมีความเสี่ยงมากขึ้นต่อการเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ สัดส่วนของ Fund Manager ที่มีความเห็นว่าประเทศจีนมีความเสี่ยง ที่มา: Bank of America Merrill Lynch และ The Wall Street Journal 24

  25. สภาวะเศรษฐกิจอาเซียน

  26. เศรษฐกิจอาเซียน: ไทยมีขนาดเศรษฐกิจอันดับที่สองในกลุ่มอาเซียน สัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ของแต่ละประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียน : USD term • ที่มา: IMF 26

  27. เศรษฐกิจอาเซียน: ไทยนำสินค้าเข้าจากกลุ่มอาเซียนมาก สัดส่วนของการนำเข้าสินค้าของไทยในกลุ่มประเทศอาเซียน สัดส่วนของการนำเข้าของแต่ละประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียน ที่มา: CEIC Data หมายเหตุ: ข้อมูลปี 2556 ของประเทศบรูไน กัมพูชา เมียนมาร์ ใช้ข้อมูล ม.ค.-พ.ย. ขณะที่ประเทศลาวไม่มีข้อมูล ที่มา: CEIC Data สัดส่วนของการนำเข้าของแต่ละประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียนปี 2555 ที่มา: CEIC Data 27

  28. เศรษฐกิจอาเซียน: ไทยไม่ได้เร่งการส่งออกสินค้าไปยังกลุ่มอาเซียนมาก สัดส่วนของการส่งออกสินค้าของไทยในกลุ่มประเทศอาเซียน สัดส่วนของการส่งออกของแต่ละประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียน ที่มา: CEIC Data หมายเหตุ: ข้อมูลปี 2556 ของประเทศบรูไน กัมพูชา เมียนมาร์ ใช้ข้อมูล ม.ค.-พ.ย. ขณะที่ประเทศลาวไม่มีข้อมูล ที่มา: CEIC Data สัดส่วนของการส่งออกของแต่ละประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียนปี 2555 ที่มา: CEIC Data 28

  29. เศรษฐกิจอาเซียน: การค้าระหว่างประเทศในปีที่ผ่านมาย่ำแย่ทั้งอาเซียน การเปลี่ยนแปลงของการส่งออกอาเซียน-5 การเปลี่ยนแปลงของการนำเข้าอาเซียน-5 y-o-y y-o-y

  30. เศรษฐกิจอาเซียน: อาเซียนค้าขายกันเองมาก และเป็นสัญญาณการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจที่ดี ตลาดส่งออกสินค้าที่สำคัญปี 2556 (อาเซียน-5): USD term % หมายเหตุ: ข้อมูลปี 2556 ของประเทศอินโดนีเซียมีเพียง ม.ค.-พ.ย. ที่มา: CEIC Data ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ หมายเหตุ: ข้อมูลปี 2556 ของประเทศอินโดนีเซียมีเพียง ม.ค.-พ.ย. ที่มา: CEIC Data 30

  31. เศรษฐกิจอาเซียน: อาเซียนมีสินค้าส่งออกหลักคล้ายกันมาก สินค้าส่งออกสินค้าสำคัญ อินโดนีเซีย ไทย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย

  32. สภาวะเศรษฐกิจไทย

  33. สภาวะเศรษฐกิจไทยผลกระทบทางการเมืองต่อเศรษฐกิจ…ครั้งนี้ไม่เหมือนเดิมสภาวะเศรษฐกิจไทยผลกระทบทางการเมืองต่อเศรษฐกิจ…ครั้งนี้ไม่เหมือนเดิม ความขัดแย้งทางการเมืองครั้งนี้ส่งผลให้ความเชื่อมั่นผู้บริโภคและผู้ลงทุนลดลง เศรษฐกิจในประเทศอ่อนแอ ซึ่งดูผิวเผินจะคล้ายกับเหตุการณ์ในอดีต หากแต่ครั้งนี้แตกต่างออกไปจากเดิมตรงที่ภาคการส่งออกของไทยครั้งนี้อ่อนแอมาก จนไม่สามารถเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจได้เหมือนก่อน 33

  34. ความขัดแย้งทางการเมืองเป็นเวลานานส่งผลเสียต่อความเชื่อมั่นผู้บริโภคและผู้ลงทุน จำนวนนักท่องเที่ยวเติบโตช้า ขณะที่ธุรกิจที่พึ่งพาตลาดในประเทศมีความเสี่ยงมากขึ้นจากความต้องการในประเทศที่อ่อนแอ นอกจากนี้ ความเชื่อมั่นของนักลงทุนต่างประเทศที่ลดลงอาจส่งผลให้เงินทุนไหลออก อัตราดอกเบี้ยนโยบายอาจมีการปรับลดลงเพื่อกระตุ้นการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในที่สุด ผลกระทบของความเชื่อมั่นที่ลดลงต่อเศรษฐกิจไทย โรงแรม ภัตตาคารและธุรกิจบันเทิงถูกกระทบจากการชะลอลงของจำนวนนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากเอเชียตะวันออก นักท่องเที่ยวยังคงท่องเที่ยวในพื้นที่ต่างจังหวัด อาทิ ทางภาคใต้และภาคเหนือ อย่างไรก็ดี อัตราการเติบโตของนักท่องเที่ยวยังคงลดลง ความเชื่อมั่นนักลงทุนชาวต่างชาติอาจลดลง ส่งผลให้เงินไหลออกและเงินบาทอ่อนค่า กนง. อาจปรับลดอัตราดอกเบี้ยเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจที่เกิดจากความอ่อนแอของอุปสงค์ภายในประเทศ นักลงทุนอาจจะเลื่อนการตัดสินใจในการลงทุนออกไป ธุรกิจ/อุตสาหกรรมต่างๆ มียอดขายลดลง ส่งผลให้สภาพคล่องทางการเงินอาจตึงตัว 34

  35. ความไม่สงบทางการเมืองเป็นเวลานาน ทำให้ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคและนักลงทุนลดลง ถ้าประวัติศาสตร์ซ้ำรอย ความเชื่อมั่นผู้บริโภคมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่องจนกว่าจะมีการแก้ปัญหา (ชั่วคราว) อย่างไรก็ดี ในสถานการณ์ปัจจุบัน ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจอาจจะไม่สามารถฟื้นตัวได้มากนัก เนื่องจากการส่งออกอาจจะไม่ฟื้นตัวตามเศรษฐกิจโลกที่ปรับดีขึ้น กรณีศึกษา: เปรียบเทียบเหตุการณ์ความขัดแย้งทางการเมือง ความเชื่อมั่นผู้บริโภค ความเชื่อมั่นทางธุรกิจ Index Index Confidence rebounded temporarily after the Coup Confidence rebounded temporarily after the Coup before falling afterwards amid full of uncertainty Confidence dropped more sharply this time than the previous one Note that global economy was supporting exports at that time Confidence fell sharply amid full of uncertainty in politics Confidence dropped gradually during prolonged protest Confidence increased after a new election in late 2007 • ม.ค. 49 – ธ.ค.50: มีกลุ่มผู้ประท้วงจนเป็นสาเหตุให้นายกฯทักษิณยุบสภาฯเดือนกุมภาพันธ์ 49 แต่ไม่สามารถจัดการเลือกตั้งได้เสร็จสิ้น จนนำไปสู่การรัฐประหารในเดือนกันยายน 49 ; มีการเลือกตั้งและจัดตั้งรัฐบาลในเดือนธันวาคม 50 • ต.ค. 56 - ปัจจุบัน: มีกลุ่มผู้ประท้วงนายกฯยิ่งลักษณ์จนนำไปสู่การยุบสภาฯเดือนธันวาคม 56 และยังไม่สามารถจัดการเลือกตั้งได้สำเร็จ 35

  36. เมื่อเปรียบเทียบทั้งสองช่วงเวลา การบริโภคภาคเอกชนและการลงทุนภาคเอกชนค่อนข้างอ่อนแอ ในขณะที่การบริโภคภาครัฐและการลงทุนภาครัฐก็ไม่สามารถขับเคลื่อนการเติบโตทางเศรษฐกิจได้ ในครั้งก่อนการเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยถูกขับเคลื่อนจากการส่งออกสุทธิที่โตตามความต้องการของตลาดโลก แต่ในปัจจุบันภาคการส่งออกของไทยกลับค่อนข้างอ่อนแอ % yoy แหล่งที่มาของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ: ด้านรายจ่าย 36

  37. ก่อนหน้านี้ ภาคการผลิตสามารถเติบโตได้อย่างแข็งแกร่งท่ามกลางความขัดแย้งทางการเมือง อย่างไรก็ตาม ในสภาวะการณ์ปัจจุบัน ภาคการผลิตค่อนข้างชะลอตัวจากการที่ตลาดโลกลดความต้องการผลิตภัณฑ์ที่ใช้เทคโนโลยีไม่สูง ขณะเดียวกัน ความต้องการสินค้าคงทนในประเทศกลับลดลงจากปัญหาหนี้ภาคครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง แหล่งที่มาของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ: ภาคอุปทาน % yoy 37

  38. สินค้าส่งออกของไทยส่วนใหญ่เป็นสินค้าที่มีมูลค่าเพิ่มต่ำ เทคโนโลยีล้าสมัย ขณะที่ตลาดโลกในปัจจุบันพบว่ามีความต้องการในผลิตภัณฑ์เหล่านั้นลดลง ดังนั้น คาดว่าการส่งออกของไทยในครั้งนี้ไม่น่าจะได้รับประโยชน์จากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกเท่าที่ควร การส่งออกสินค้าที่สำคัญ ที่มา: กระทรวงพาณิชย์ 38

  39. ตลาดส่งออกของไทยกระจายไปยังภูมิภาคเอเชียมากขึ้น ขณะที่ตลาดสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่นลดลง อย่างไรก็ตาม การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกในปีนี้ส่วนใหญ่มาจากเศรษฐกิจกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ในขณะที่ตลาดเกิดใหม่คาดว่าจะเติบโตในอัตราที่ชะลอลง ดังนั้น ตลาดส่งออกหลักของไทยอาจจะไม่สามารถสนับสนุนการส่งออกได้มาก การส่งออกรายประเทศที่สำคัญ 2556 2550 39

  40. แม้ว่าการส่งออกจะชะลอตัวลง ทั้งด้านสินค้าและบริการ แต่ด้านการท่องเที่ยวยังคงดี ดังจะเห็นได้จากจำนวนนักท่องเที่ยวที่ยังคงเติบโตได้ในอัตราสูงแม้ว่าจะเกิดปัญหาทางการเมือง ขณะที่ตลาดการท่องเที่ยวมีความหลากหลายมากกว่าอดีต 2007: Total tourist arrivals = 14.46 mil 2013: Total tourist arrivals = 25.56 mil

  41. ปัญหาความไม่แน่นอนทางการเมืองไม่ได้มีเพียงประเทศไทยเพียงประเทศเดียว ภายในปีนี้มีอีกหลายประเทศที่กำลังจะมีการเลือกตั้งและอาจมีการเปลี่ยนขั้วทางการเมือง ซึ่งส่งผลให้เกิดความไม่แน่นอนและความไม่มั่นใจของผู้ลงทุน อย่างไรก็ดี เมื่อปัญหาการเมืองสิ้นสุดลง กระแสเงินไหลออกอาจไม่รุนแรง ขณะที่ความเชื่อมั่นจะฟื้นขึ้นมา If political situation in EM turns certain, capital flows could return to those markets; but if Thai political situation remains uncertain, capital flows would divert from Thailand to others

  42. สภาวะเศรษฐกิจไทยเมื่อสิ้นมาตรการ QE…บาทจะอ่อนค่าแค่ไหน แม้ว่าธปท.จะมีเงินสำรองสูง ขณะที่หนี้ต่างประเทศระยะสั้นของไทยมีไม่มาก จึงดูเหมือนว่าไทยมีภูมิคุ้มกันจากภาวะความผันผวนของตลาดเงินต่างประเทศหากมีการถอนมาตรการ QE ที่แรงขึ้น แต่อย่าลืมว่านักลงทุนต่างชาติอาจถอนเงินลงทุนจากตลาดเกิดใหม่ทั้งกระดาน โดยไม่ดูเสถียรภาพของประเทศมากนัก จึงน่ากังวลว่า ค่าเงินบาทจะอยู่ในทิศทางอ่อนค่าและมีความผันผวนมากขึ้น ที่มา http://www.forexlive.com

  43. ตลาดการเงินของประเทศเกิดใหม่กำลังตื่นตัวอีกครั้ง หลังเริ่มมีการปรับลดมาตรการ QE ลงช่วงเดือนธันวาคม และคาดว่าจะมีการปรับลด QE ลงต่อเนื่อง ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดเงินไหลออก และสภาพคล่องที่ตึงตัวมากขึ้น งบดุลของธนาคารกลางสหรัฐฯ พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ QE3: > USD1,200bn QE2: USD 600 bn QE1: USD 1.75 trn ประชุม FOMC ครั้งต่อไปวันที่ 18-19 มีนาคม ที่มา: Board of Governors of the Federal Reserve System

  44. คณะกรรมการนโยบายการเงินสหรัฐฯ มีมุมมองต่อเศรษฐกิจดีขึ้น ขณะที่คาดว่าอัตราว่างงานจะต่ำกว่าระดับ 6.5%ได้ในปีนี้ ซึ่งน่าจะเพิ่มมุมมองว่าทางสหรัฐฯ จะหยุดมาตรการ QE ในช่วงกลางปี ประมาณการอัตราการว่างงาน โดยธนาคารกลางสหรัฐฯ ประมาณการเศรษฐกิจโดยธนาคารกลางสหรัฐฯ % %

  45. อัตราว่างงานที่ลดลงเหลือ 6.6% มาจากเหตุผลที่ผิด คือมีแรงงานออกจากตลาดแรงงานมาก ส่งผลให้อัตราการมีส่วนร่วมในกำลังแรงงานลดลงต่อเนื่อง ขณะที่การจ้างงานก็เพิ่มขึ้นน้อย หากเป็นเช่นนี้ ทางFOMC อาจจำเป็นต้องคง QE เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจต่อไปอีกระยะ แม้อัตราว่างงานจะลดลงต่ำกว่า 6.5% ยอดการจ้างงานนอกภาคการเกษตร number อัตราการว่างงานสหรัฐฯ % 6.6 Labor Participation rate %

  46. อย่างไรก็ดี ตลาดแรงงานที่กระเตื้องขึ้นและตัวเลขเศรษฐกิจที่ปรับดีขึ้นน่าจะมีผลให้ทาง FOMC ปรับลด QE ลงได้เร็วกว่าเดิม โดยการประชุมครั้งถัดไปนับว่ามีความสำคัญ เนื่องจากจะเป็นครั้งแรกที่ Yellenจะเป็นประธานการประชุม ซึ่งอาจมีผลต่อการปรับลดขนาด QE ได้ ซึ่งนักลงทุนอาจเลี่ยงตลาดเกิดใหม่และเข้าไปถือสินทรัพย์ปลอดภัยเช่นดอลลาร์สหรัฐฯ Additional monthly monetary stimulus (QE) USD mn 2ndTapering on Jan 29th Let’s see how much Tapering would be on Mar 19th depending on how fast the economy recovers If the economy is improving faster than expected, the FOMC could announce to end the QE program during the Jul 30th meeting If the economy is improving slowly, the FOMC is likely to announce to end the QE program during the Oct 29th meeting Indicating a meeting calendar

  47. ประเทศไทยมีความเสี่ยงจากการที่เงินจะหยุดไหลเข้า หรือไหลออกอย่างรวดเร็ว แม้เศรษฐกิจมหภาคด้านต่างประเทศยังมีเสถียรภาพดี และโดยรวมแล้วความเสี่ยงของไทยจะต่ำกว่าประเทศที่มีปัญหาในปัจจุบันก็ตาม ดัชนีวัดเงินทุนหยุดไหลเข้า โดย The Economist • ดัชนีนี้อาศัยตัวแปรจาก 4 ปัจจัยหลัก • ดุลบัญชีเดินสะพัด: แสดงถึงการพึ่งพาเงินออมจากต่างประเทศ เพื่อใช้ในการลงทุนในประเทศ อันอาจเกิดปัญหาได้ในกรณีเงินหยุดไหลเข้า • หนี้ต่างประเทศระยะสั้น: แสดงถึงความยากลำบากของผู้กู้เงินในการชำระเงินกู้ (เทียบต่อเงินสำรองระหว่างประเทศ) • การเติบโตของสินเชื่อ: แสดงถึงธุรกิจที่พึ่งพาเงินกู้มากขึ้น ขณะที่ราคาสินทรัพย์เริ่มส่งสัญญาณสูงเกินปัจจัยพื้นฐาน • การเปิดกว้างทางการเงิน: อาจมีผลดีต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาว แต่ก็มีผลให้เงินไหลออกได้ง่ายขึ้น ที่มา :The Economist (7 ก.ย. 2556)

  48. จากทั้งสี่ตัวแปร ประเทศไทยมีความเสี่ยงจากการที่สินเชื่อเร่งตัวขึ้นแรงในช่วงที่ผ่านมา อันอาจกดดันให้สภาพคล่องตึงตัวได้ โดยเฉพาะช่วงที่มีเงินไหลออกมาก ดุลบัญชีเดินสะพัดต่อจีดีพี (%) หนี้ต่างประเทศระยะสั้น เทียบต่อเงินสำรองระหว่างประเทศ (%) การเปิดกว้างทางการเงิน(มากไปน้อย) การเติบโตของสินเชื่อ(%) ที่มา: TheEconomist (7 ก.ย. 2556)

  49. อย่าเพิ่งกังวล... ธนาคารพาณิชย์ไทยมีการกันเงินสำรองอย่างเข้มแข็ง ขณะที่ภาวะหนี้เสียในระบบต่ำ อีกทั้งสภาพคล่องมีแนวโน้มคลายตัวมากขึ้น อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง (%) สัดส่วนหนี้เสียและการตั้งสำรอง (%) Tier 1 ratio >6% Total capital ratio >8.5% การเติบโตของสินเชื่อและเงินฝาก (%yoy) สัดส่วนสินเชื่อต่อเงินฝาก (%) ที่มา: ธปท

  50. แต่ตลาดการเงินไทยก็ไม่อาจหลีกพ้นวิกฤติเงินไหลออกได้ โดยเงินสำรองระหว่างประเทศลดลง ขณะที่ค่าเงินกลับอ่อนค่าจากต้นปีก่อนมาก Foreign Reserve (%) Foreign Exchange Rate (%) %yoy %yoy %, y-o-y Remark: as of January 29, 2014 Source: Bloomberg Remarks: 1 = end of September 2013, 2 = end of October 2013, 3 = end of November 2013, 4 = end of December 2013, and 5 = January 17, 2014 Source: Bloomberg

More Related