1 / 17

กรอบ แนวคิดในการวิจัย

กรอบ แนวคิดในการวิจัย. ประเด็น. กระแสโลกา ภิ วัตรส่งผลให้ปัจจัย ต่างๆ ที่เคยเกื้อกูลและสร้างความสามารถในการแข่งขันเชิงเปรียบเทียบ ( Competitive Advantage) และความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ ( Comparative advantage) ของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงไป

alton
Download Presentation

กรอบ แนวคิดในการวิจัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรอบแนวคิดในการวิจัย

  2. ประเด็น • กระแสโลกาภิวัตรส่งผลให้ปัจจัยต่างๆ ที่เคยเกื้อกูลและสร้างความสามารถในการแข่งขันเชิงเปรียบเทียบ (Competitive Advantage) และความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ (Comparative advantage) ของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงไป • การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกผลกระทบประเทศไทยได้เริ่มหันมาให้ความสำคัญ ในการพัฒนาระบบเศรษฐกิจโดยมุ่งเน้นการพัฒนาตลาดภายในประเทศ (Domestic Market) และตลาดภูมิภาค (Region Market) และมุ่งเน้นการเชื่อมโยงกิจกรรมทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้านมากขึ้น

  3. จุดแข็งและโอกาส • ประเทศไทยมีความได้เปรียบเชิงที่ตั้งในฐานะเป็นประเทศศูนย์กลางของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในการเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ประเทศ พม่า ลาว กัมพูชา จีนตอนใต้ และภูมิภาคตอนล่าง ได้แก่ ประเทศมาเลเซีย • กรอบยุทธศาสตร์ ความร่วมมือGMSที่ทำให้เกิดเส้นทางยุทธศาสตร์การเชื่อมโยงทางกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้านที่มีศักยภาพด้านเศรษฐกิจผ่านสปป.ลาว(ที่เป็นประเทศที่มีประชากรน้อย)สำคัญ 2 เส้นทาง คือ ไทย-จีนตอนใต้ (เส้นทางหมายเลข R3E จากจังหวัดเชียงราย-ลาวตอนเหนือ-จีนตอนใต้) และไทย-เวียตนาม (เส้นทางหมายเลข 9 เชื่อมโยงจังหวัดมุกดาหาร-ลาวตอนกลาง-เวียตนาม)

  4. การเชื่อมโยงระหว่างภาคเหนือของไทยกับจีนตอนใต้การเชื่อมโยงระหว่างภาคเหนือของไทยกับจีนตอนใต้ เส้นทางแม่น้ำโขง (ท่าเรือเชียงแสน-ท่าเรือกวนเล่ย-ท่าเรือจิ่งหง) เส้นทาง R3E ผ่านลาว (เชียงของ-ห้วยทราย-หลวงน้ำทา-บ่อเต็น-บ่อหาน-จิ่งหง) เส้นทาง R3W ผ่านพม่า (แม่สาย-ท่าขี้เหล็ก-เชียงตุง-เมืองลา-ต้าลั่ว-จิ่งหง)

  5. ยุทธศาสตร์เพื่อนบ้านที่สำคัญยุทธศาสตร์เพื่อนบ้านที่สำคัญ • รัฐบาลประเทศลาวได้มีการกำหนดยุทธศาสตร์พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมระยะ 10 ปี (ค.ศ. 2001-2010))ซึ่งรวมถึงการปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน • รัฐบาลจีนได้ประกาศ "นโยบายดำเนินการมุ่งตะวันตก" เมื่อวันที่ 21ธันวาคม 2544 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกระจายความเจริญ และยกระดับการพัฒนาพื้นที่ทางภาคตะวันตกให้ทัดเทียมกับภาคอื่นๆของประเทศ โดยรัฐบาลจีนจะเข้าไปลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และระบบสาธารณูปโภคต่างๆภายใต้ "นโยบาย XibuDaKaifa" หรือ Great Western Development Strategy

  6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่สำคัญของจีนตอนใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่สำคัญของจีนตอนใต้ การขับเคลื่อน มี 2 ยุทธศาสตร์คือ 1. ยุทธศาสตร์ 1 แกน 2ปีก (1 Axis 2 wings) หรืออีกชื่อหนึ่งคือ ยุทธศาสตร์ 3M ที่มุ่งเน้นการเชื่อมต่อผืนแผ่นดินของประเทศเพื่อนบ้านเป็นแกนหลัก (Axis-Mainland) จากจีนตอนใต้ เข้ากับเวียดนาม สปป.ลาว ไทย มาเลเซีย และสิงคโปร์ เป็นแกนหลัก และ ปีกแม่น้ำโขง (Wing-Mekong) ที่เชื่อมโยงจีนตอนใต้ (ยูนนาน) พม่า สปป.ลาว ไทย กัมพูชาและเวียดนามเข้าด้วยกัน อีกหนึ่งปีก(Wing-Marine)คือการเชื่อมโยงชายฝั่งทะเลตะวันออกของเขตปกครองตนเองชนชาติจ้วงกว่างซี (กวางสี) จากอ่าวเป้ยปู้ เข้ากับท่าเรือหลักของเวียดนามเช่นท่าเรือไฮฟอง ท่าเรือวินห์ ท่าเรือดานังท่าเรือคัมรานห์ ท่าเรือไซ่ง่อน เข้าสู่ท่าเรือของกัมพูชาและท่าเรือแหลมฉบังของไทย 2.ยุทธศาสตร์การพัฒนาอ่าวเป้ยปู่ (PanBeibuDevelopment) ซึ่งรัฐบาลทุ่มเทและให้ความสำคัญเป็นอย่างมากที่จะพัฒนาอ่าวเป้ยปู่เป็นทางออกทะเลของจีนตอนใต้และตะวันตก

  7. การศึกษาขบวนการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ ระหว่างไทย-สปป.ลาว-จีนตอนใต้ผ่านเส้นทาง R3A/E แม้ว่าเส้นทางคมนาคมจะเป็นปัจจัยพื้นฐานสำคัญที่ช่วยส่งเสริมการเชื่อมโยงกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศด้านการขนส่งคนและสินค้า แต่หากระบบสถาบันระหว่างประเทศ เช่นกฎหมาย กฎระเบียบ และวิธีปฏิบัติอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องขาดประสิทธิภาพและประสิทธิผลก็จะเป็น ข้อจำกัด อุปสรรคในการที่จะทำให้เกิดการเชื่อมโยงทางกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างกันอย่างมีประสิทธิผล

  8. เป้าหมาย การนำไปสู่การกำหนดยุทธศาสตร์ที่จะให้ภาคเอกชนได้ใช้ประโยชน์เส้นทางการค้า R3A/E อย่างมีประสิทธิผล (Cost Effectiveness) และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย (Competitiveness)

  9. สมมุติฐาน สมมุติฐานที่สำคัญสองประการในการศึกษานี้คือ 1การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคมทางบกระหว่าง ไทย-ลาว-จีนตอนใต้ในเส้นทางนี้สามารถอำนวยประโยชน์ด้านกายภาพในการขนส่งได้เป็นอย่างดี และ 2ข้อตกลงระหว่างประเทศภายใต้กรอบ GMS สามารถสร้างประโยชน์ร่วมได้กับทุกฝ่าย หากมีการปฏิบัติตามข้อตกลงดังกล่าว

  10. คำถาม “ข้อจำกัดและอุปสรรคในการค้าชายแดนและผ่านแดนผ่านเส้นทางนี้คืออะไร และ ผู้ประกอบการไทยจะขยายโอกาสในการค้าชายแดนและผ่านแดนบนเส้นทางดังกล่าวได้อย่างไร”

  11. ประโยชน์ต่อระบบเศรษฐกิจไทยประโยชน์ต่อระบบเศรษฐกิจไทย • การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้โครงข่ายพื้นฐานคมนาคมขนส่งสินค้าที่มีอยู่ โดยการพัฒนาระบบการจัดการที่นำไปสู่การลดต้นทุนให้กับผู้ประกอบการของไทย • การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับผู้ประกอบการไทยให้สามารถปรับตัวได้ทันกับการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในกระแสยุคโลกาภิวัตร และการพัฒนาเศรษฐกิจและการลงทุนที่มีพัฒนาสู่ระบบตลาดอย่างเดียวหรือการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ • การทำให้ภาคเอกชนรับได้ทราบถึงปัญหา และอุปสรรคของของผู้ประกอบการไทย เพื่อนำไปสู่การกำหนดยุทธศาสตร์ สนับสนุนการขยายโอกาสให้ผู้ประกอบการต่อไป

  12. ทฤษฎีการศึกษาและระเบียบวิธีการวิจัย(Research Methodology)

  13. กรอบแนวคิดทฤษฏีการวิเคราะห์ปัจจัย 4ด้าน (Diamond of Advantage)

  14. ระบบการจัดการโลจีสติกส์ระบบการจัดการโลจีสติกส์

  15. กรอบแนวทางในการดำเนินงานกรอบแนวทางในการดำเนินงาน งานที่ 1: ศึกษานโยบาย/ ยุทธศาสตร์/กรอบความร่วมมือ GMS / กฎหมายและ กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับข้อตกลงทางการค้า การลงทุน และ การขนส่ง ระหว่างประเทศ ไทย-ลาว-จีนตอนใต้ งานที่ 2 : ศึกษาทำความเข้าใจการไหลเวียนและเคลื่อนย้ายสินค้า และคน ในสภาพ ปัจจุบันและแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นบนแนวเส้นทางที่จะทำการศึกษา งานที่ 3 : ศึกษาเส้นทาง รูปแบบการขนส่งสินค้าและระบบการจัดการโลจีสติกส์ใน พื้นที่เกี่ยวเนื่องที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคตในแนวเส้นทาง เชื่อมโยงและเส้นทางเกี่ยวเนื่อง งานที่ 4 : ศึกษาการตัดสินใจของผู้ประกอบการในการคัดเลือกใช้หมวดการขนส่ง เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดภายใต้กฎหมาย อุปสรรค ข้อจำกัด และ กฎระเบียบความร่วมมือระหว่างประเทศที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน งานที่ 5 : การจัดวางยุทธศาสตร์เพื่อเพิ่มประโยชน์และการเพิ่มความสามารถใน การแข่งขันให้กับผู้ประกอบการไทย

More Related