1 / 31

ผู้บรรยาย : นางนวลศรี ม่วงศิริ

ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้า จากผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก พ.ศ. 2550. ผู้บรรยาย : นางนวลศรี ม่วงศิริ วิศวกรระดับ 9 ทนท. หัวหน้าแผนกจัดการสัญญาซื้อไฟฟ้าผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก งานสัมมนา “การรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) ประเภทสัญญา Non-Firm วันที่ 13 มิถุนายน 2551.

amena-hunt
Download Presentation

ผู้บรรยาย : นางนวลศรี ม่วงศิริ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าระเบียบการรับซื้อไฟฟ้า จากผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก พ.ศ. 2550 ผู้บรรยาย : นางนวลศรี ม่วงศิริ วิศวกรระดับ 9 ทนท. หัวหน้าแผนกจัดการสัญญาซื้อไฟฟ้าผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก งานสัมมนา “การรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) ประเภทสัญญา Non-Firm วันที่ 13 มิถุนายน 2551

  2. การรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) รัฐบาลได้มีนโยบายสนับสนุนให้เอกชนเข้ามามีบทบาทและร่วมลงทุนในการผลิตไฟฟ้าและจำหน่ายไฟฟ้าในรูปแบบผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) โดยใช้พลังงานนอกรูปแบบ กากหรือเศษวัสดุเหลือใช้เป็นเชื้อเพลิง และการผลิตไฟฟ้าระบบ Cogeneration ซึ่งเป็นการใช้พลังงานนอกรูปแบบและต้นพลังงานพลอยได้ในประเทศให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น อีกทั้งเป็นการช่วยแบ่งเบาภาระทางด้านการลงทุนของรัฐในระบบการผลิตและจำหน่ายไฟฟ้า

  3. นโยบายการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ความเป็นมา • 24 ต.ค. 31 คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) เห็นชอบโยบาย ให้เอกชนผลิตไฟฟ้าในรูป SPP และเริ่มยกร่างระเบียบฯ • 17 มี.ค. 35 ครม.เห็นชอบระเบียบรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP • 1 พ.ค. 35 กฟผ.เปิดรับซื้อไฟฟ้า 300 MW • 28 พ.ย. 38 ครม.มีมติขยายการรับซื้อไฟฟ้าเป็น 1,444 MW • 9 ก.ค. 39 ครม.มีมติขยายการรับซื้อไฟฟ้าเป็น 3,200 MW • 11 ส.ค. 40 ครม. ได้มีมติอนุมัติให้มีการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ที่ใช้พลังงาน นอกรูปแบบ กาก เศษวัสดุเหลือใช้เป็นเชื้อเพลิง และ SPP ประเภท Non-Firm โดยไม่มีกำหนดระยะเวลา และปริมาณทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ขีดความสามารถของระบบส่งและระบบจำหน่ายที่จะรับได้ (กฟผ. ปิดการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ประเภทสัญญา Firm ที่ผลิต ไฟฟ้าด้วยระบบ Co-generationที่ใช้เชื้อเพลิง เชิงพาณิชย์)

  4. นโยบายการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ปัจจุบัน • 26 ธ.ค. 49 กพช. มีมติให้ กฟผ. เปิดการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ทุก ประเภท เชื้อเพลิง และขยายปริมาณการรับซื้อเป็น 4,000 MW • 9เม.ย. 50 กพช. เห็นชอบ (1) ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้า SPP ระบบ Cogeneration ฉบับ พ.ศ. 2550 (2) ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้า SPP พลังงานหมุนเวียน ฉบับ พ.ศ. 2550 (3) ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้า SPP ประเภท Non-Firm ฉบับ พ.ศ. 2550 • 16 พ.ย. 50 เห็นชอบให้ผู้ผลิตไฟฟ้าที่มีปริมาณพลังไฟฟ้าเสนอขายเกิน 10 เมกะวัตต์ ยื่นคำร้องขอขายไฟฟ้าตามระเบียบการรับซื้อ ไฟฟ้าจาก SPP ยกเว้นในกรณี SPP รายเดิมที่มีสัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับ กฟผ. แล้ว (ปริมาณพลังไฟฟ้าเสนอขายไม่เกิน 10 เมกะวัตต์ยื่นคำร้อง ตามระเบียบ VSPP ได้โดยตรงกับการไฟฟ้าฝ่ายจำหน่าย)

  5. ข้อมูลการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP (ณ 31 พ.ค. 2551) แบ่งตามจำนวนราย แบ่งตามปริมาณพลังไฟฟ้า

  6. SPP Firm แยกตามการเริ่มจำหน่ายไฟฟ้า (COD) ตามจำนวนราย ตามปริมาณพลังไฟฟ้า ยังไม่ COD 21 ราย , 34% ยังไม่ COD 1,740.5 MW , 46% COD แล้ว 41 ราย , 66% COD แล้ว 2,079.1 MW , 54% รวม 62 ราย รวม 3,819.6 MW

  7. SPP Non-Firm แยกตามการจ่ายไฟฟ้า (COD) ตามจำนวนราย ตามปริมาณพลังไฟฟ้า ยังไม่ COD 7 ราย , 27% ยังไม่ COD 109 MW , 35% COD แล้ว 19 ราย , 73% COD แล้ว 202.423 MW , 65% รวม 26 ราย รวม 311.423 MW

  8. ปริมาณพลังไฟฟ้ารับซื้อสะสม(ณ 31 พ.ค. 2551) ปริมาณพลังไฟฟ้า (MW) หมายเหตุ : 1. ไม่รวม SPP Firm ที่ยังไม่ได้ลงนามสัญญา 20 ราย 1,680.5 MW 2. ไม่รวม SPP Non-Firm ที่ยังไม่เริ่มต้นซื้อขายไฟฟ้า 7 ราย 109 MW

  9. รายชื่อ SPP Non-Firm ที่ COD แล้ว (ณ 31 พ.ค. 2551)

  10. รายชื่อ SPP Non-Firm ที่ยังไม่ COD (ณ 31 พ.ค. 2551)

  11. ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP พ.ศ. 2550 SPP ใหม่ พ.ศ. 2550 Firm Non Firm Cogeneration Renewable Cogeneration Renewable ปริมาณรับซื้อ Firm รวม 4,000 MW (รวมปริมาณรับซื้อเดิม) ไม่กำหนด ไม่กำหนด รายละ >10 - 90 MW >10 - 90 MW >10 - 90 MW >10 - 90 MW อายุสัญญา 20 - 25 ปี 20 - 25 ปี 5 ปี ต่อสัญญาทุก 5 ปี 5 ปี ต่อสัญญาทุก 5 ปี เชื้อเพลิง gas , coal พลังงานหมุนเวียน ชนิดใดก็ได้ พลังงานหมุนเวียน ข้อกำหนด เทคนิคไอน้ำ > = 5 % เชื้อเพลิงเสริม < = 25 % เชื้อเพลิงเสริม < = 25 % • กฟผ. เปิดรับซื้อไฟฟ้าตามระเบียบฯ พ.ศ. 2550 เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2550 • กฟผ. ปิดรับซื้อไฟฟ้า SPP Firm Cogeneration แล้ว เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2550

  12. ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กประเภทสัญญา Non-Firmพ.ศ. 2550

  13. วัตถุประสงค์ • เพื่อส่งเสริมให้ SPP เข้ามามีส่วนร่วมในการผลิตไฟฟ้า • เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้ต้นพลังงานพลอยได้ในประเทศ และพลังงานนอกรูปแบบในการผลิตไฟฟ้า • เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้พลังงานในการผลิตไฟฟ้าให้เกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น • เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระการลงทุนของรัฐ

  14. การบังคับใช้ • ใช้กับ SPP ที่ยื่นคำร้องตั้งแต่ 18 เม.ย. 2550 เป็นต้นไป • SPP รายเดิมเมื่อครบอายุสัญญาแล้วต้องเปลี่ยนมาใช้สัญญาตามระเบียบฯ นี้

  15. ลักษณะกระบวนการผลิต SPP Non-Firm • พลังงานหมุนเวียนแบบไม่มีเชื้อเพลิงเสริม พลังงานนอกรูปแบบ(Non-Conventional Energy) เช่น พลังลม พลังแสงอาทิตย์ พลังน้ำขนาดเล็ก พลังงานที่ได้จากกระบวนการผลิตการใช้ หรือการขนส่งเชื้อเพลิง ได้แก่ - พลังงานที่เหลือทิ้ง เช่น ไอน้ำที่เหลือจากกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหรือการเกษตร - พลังงานสูญเสีย เช่น ความร้อนจากไอเสียเครื่องยนต์ - พลังงานที่เป็นผลพลอยได้ เช่น พลังงานกลซึ่งเป็นผลพลอยได้จากการปรับลดความดันของก๊าซธรรมชาติ

  16. ลักษณะกระบวนการผลิต SPP Non-Firm • พลังงานหมุนเวียนแบบมีเชื้อเพลิงเสริม • ผลิตไฟฟ้าโดยใช้เชื้อเพลิง ดังนี้ • กากหรือวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรหรืออุตสาหกรรม • ขยะมูลฝอย • ไม้จากการปลูกป่า ใช้เชื้อเพลิงพาณิชย์ (น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน) เสริม ได้ไม่เกิน 25%ในรอบปี

  17. ลักษณะกระบวนการผลิต SPP Non-Firm • ผลิตไฟฟ้าด้วยระบบพลังงานความร้อน • และไฟฟ้าร่วมกัน(Cogeneration)

  18. มาตรฐานระบบไฟฟ้าของ SPP SPP จะต้องปฏิบัติตามมาตรฐานในด้านความปลอดภัย และมาตรฐานในการเชื่อมโยงตามหลักเกณฑ์การเชื่อมโยงของผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) และระเบียบว่าด้วยการเดินเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนานกับระบบไฟฟ้าของการไฟฟ้า

  19. อายุสัญญา • เดิมอายุสัญญา 1 ปี และต่ออายุทุกปี • ระเบียบฯ พ.ศ. 2550 อายุสัญญา 5 ปี และต่ออายุคราวละ 5 ปี

  20. ค่าใช้จ่ายของ SPP • ค่าใช้จ่ายในการต่อเชื่อมระบบไฟฟ้า ได้แก่ ค่าระบบส่งและระบบจำหน่าย ค่ามาตรวัดไฟฟ้า ระบบป้องกัน และอื่นๆ ที่เพิ่มขึ้นจากการดำเนินการรับซื้อไฟฟ้า • ค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบอุปกรณ์ • ค่าใช้จ่ายในการตรวจวัดสัดส่วนพลังงานความร้อนของการใช้เชื้อเพลิงเสริม

  21. โครงสร้างราคารับซื้อไฟฟ้า SPPNon Firm ประกอบด้วย 2 โครงสร้าง คือ 1. SPP Non Firm ระบบ Cogeneration 2. SPP Non Firm พลังงานหมุนเวียน (Renewable)

  22. [(Pt x Heat Rate/106)+O&M/2] EPtNF = x (1+T) (1- L) • โครงสร้างราคารับซื้อไฟฟ้า SPPNon Firm Cogeneration Pt = ราคาก๊าซธรรมชาติ Heat Rate = 8,600 btu/kWh O&M = 0.05 บาท/kWh Loss : L = 4 % Tax : T = 15 % EPtNF(เมษายน 2551) = 2.19 บาท/kWh

  23. โครงสร้างราคารับซื้อไฟฟ้า SPPNon Firm Cogeneration kPeak = 1.13 และ kOff Peak = 0.85 ทั้งนี้ kPeakและ kOff Peakจะเปลี่ยนแปลงเมื่อ marginal energy cost ของ กฟผ. เปลี่ยนแปลงไป แต่ยังคงค่าเฉลี่ยให้เท่ากับ EPtNF

  24. 2. โครงสร้างราคารับซื้อไฟฟ้า SPPNon Firm Renewable • ราคารับซื้อไฟฟ้า = ราคาขายส่ง ณ แรงดัน 11-33 kV • + Ft ขายส่งเฉลี่ย • Peak 09.00-22.00 น. จันทร์-ศุกร์ และวันพืชมงคล Off Peak 22.00-09.00 น. จันทร์-ศุกร์ และวันพืชมงคล 00.00-24.00 น. เสาร์-อาทิตย์ วันแรงงาน และ วันหยุดราชการ (ไม่รวมวันหยุดชดเชย และ วันพืชมงคล)

  25. ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder)(ตามมติ ครม. 16 พฤศจิกายน 2550) • หมายเหตุ : • คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.) ได้อนุมัติรับซื้อ SPP พลังงานหมุนเวียนอื่นๆ ที่ยื่นข้อเสนอ Adder แล้วเมื่อวันที่ 12 ต.ค. 51 • เชื้อเพลิงขยะ และพลังงานหมุนเวียนอื่นๆ ต้องใช้เชื้อเพลิงเสริมไม่เกิน 25% • กำหนดวันเริ่มต้นซื้อขายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ ภายในเดือนธันวาคม 2555

  26. เงื่อนไขการรับซื้อไฟฟ้า SPPNon Firm Renewable • หากใช้เชื้อเพลิงเสริมเกิน 25% • Adder = 0 • ได้รับค่าไฟฟ้าตามอัตรา SPP Non Firm Cogeneration • ถูกเรียกคืนส่วนต่างค่าไฟฟ้าที่ได้รับไปแล้ว

  27. เปรียบเทียบราคารับซื้อไฟฟ้า SPP (ณ เดือนเมษายน 2551) Adder ขยะ 2.50 ลม 3.50 แสงอาทิตย์ 8.00 3.00 2.45 2.50 2.19 Ft 0.6895 EPtPeak 2.4747 EPtOP 1.8615 2.00 EPtPeak 2.9278 EPtOP 1.1154 1.50 1.00 0.50 0.00 NF Cogen NF Renew

  28. ขอขอบคุณ

  29. รายชื่อ SPP Non-Firm ที่ขอยกเลิกสัญญาเพิ่ม(ณ 13 มิ.ย. 2551) บริษัท รวมผลอุตสาหกรรม จำกัด บริษัท น้ำตาลเกษตรไทย จำกัด บริษัท น้ำตาลไทยเอกลักษณ์ จำกัด

  30. นโยบายพลังงานรัฐบาล 1 เสริมสร้างความมั่นคงทางด้านพลังงาน ด้วยการจัดหาพลังงานให้เพียงพอต่อการพัฒนาประเทศ เพื่อความอยู่ดีกินดีของประชาชนโดยเร่งรัดให้มีการลงทุนสำรวจและพัฒนาพลังงานทั้งจากในประเทศ ประเทศ เขตพื้นที่พัฒนาร่วม และจากประเทศเพื่อนบ้านให้เพิ่มมากขึ้น รวมทั้งส่งเสริมความร่วมมือด้านพลังงานกับต่างประเทศ 2 ส่งเสริมให้มีการกำกับดูแลกิจการพลังงานให้มีราคาพลังงานที่เหมาะสม เป็นธรรม และก่อให้เกิดการแข่งขันการลงทุนในธุรกิจพลังงาน โดยมีมาตรฐานคุณภาพ การบริการและความปลอดภัย ที่ดีการกำกับราคาพลังงาน และคุ้มครองผู้บริโภค 3 ส่งเสริมพัฒนาและวิจัยพลังงานทดแทนทุกรูปแบบเพื่อเป็นทางเลือกแก่ประชาชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืนรวมทั้งศึกษาวิจัยและเตรียมความพร้อมเพื่อการตัดสินใจ พัฒนาพลังงานทางเลือกใหม่ๆ ในอนาคตที่ใช้เทคโนโลยีระดับสูง

  31. นโยบายพลังงานรัฐบาล 4 ส่งเสริมการประหยัดพลังงานอย่างจริงจังและต่อเนื่อง รวมทั้งสนับสนุนการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพทั้งในภาคการผลิต ภาคบริการ และภาคประชาชน โดยมีมาตรการจูงใจ ที่เหมาะสม 5 ส่งเสริมการพัฒนา ผลิต และใช้พลังงานควบคู่ไปกับการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมส่งเสริมกลไกการพัฒนาพลังงานที่สะอาด รวมทั้งให้ความสำคัญ กับการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพื่อช่วยบรรเทาสภาวะโลกร้อน

More Related