1 / 24

คู่มือระเบียบการเงิน การคลังที่ควรรู้

คู่มือระเบียบการเงิน การคลังที่ควรรู้. โดย ... นางสาว จีร ภา แดงทน นักวิชาการเงินและบัญชี สำนักงานเลขานุการ. ค่าใช้จ่ายในการเดิน ทางไปราชการ. เบี้ยเลี้ยงเดินทาง. ข้าราชการ อัตรา (บาท : วัน : คน) ระดับ 8 ลงมา 240 บาท ระดับ 9 ขึ้นไป 270 บาท. การนับเวลา.

amy-oliver
Download Presentation

คู่มือระเบียบการเงิน การคลังที่ควรรู้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คู่มือระเบียบการเงิน การคลังที่ควรรู้ โดย ... นางสาวจีรภา แดงทน นักวิชาการเงินและบัญชี สำนักงานเลขานุการ

  2. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ

  3. เบี้ยเลี้ยงเดินทาง ข้าราชการอัตรา (บาท : วัน:คน) ระดับ 8 ลงมา 240 บาท ระดับ 9 ขึ้นไป 270 บาท

  4. การนับเวลา *ตั้งแต่ออกจากที่อยู่ หรือที่ทำงานปกติจนกลับถึงที่อยู่หรือทำงานปกติ *นับ 24 ชม. เป็น 1 วัน เศษที่เกิน 12 ชั่วโมง นับเป็น 1 วัน *กรณีไม่มีการพักแรม เกิน 12 ชม. นับเป็น 1 วัน เกิน 6 ชม. นับเป็น ครึ่งวัน

  5. อัตราค่าเช่าที่พัก ตาม พร.ฎ.ค่าใช้จ่ายเดินทางฯ ปี 2553 ข้าราชการเหมาจ่ายจ่ายจริง พักคนเดียวพักคู่ระดับ 1-8 ไม่เกิน 800.-1,500 .- 850.-ระดับ 9 ไม่เกิน 1,200.-2,200.- 1,200.-ระดับ10ขึ้นไป ไม่เกิน1,200.-2,500.- 1,400.- กรณีเดินทางเป็นหมู่คณะ ต้องเลือกเหมือนกันทั้งคณะ และ ตลอดการเดินทาง

  6. ค่าพาหนะ * ค่าโดยสาร ค่าเช่ายานพาหนะ* ค่าเชื้อเพลิง ค่าระวางบรรทุก* ค่าจ้างคนหาบหามสิ่งของ ของผู้เดินทางนิยามยานพาหนะประจำทาง* บริการทั่วไปประจำ* เส้นทางแน่นอน* ค่าโดยสาร ค่าระวางแน่นอน

  7. พาหนะส่วนตัว • ต้องได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชาก่อนเดินทาง* เบิกเงินชดเชย - รถยนต์ กม. ละ 4 บาท - รถจักรยานยนต์ กม. ละ 2 บาท

  8. หลักเกณฑ์ค่าพาหนะรับจ้าง ( taxi ) 1. ไม่มีพาหนะประจำทาง2. มีพาหนะประจำทางแต่มีเหตุจำเป็นและต้องชี้แจง3. ระดับ 5 ลงมา กรณีมีสัมภาระเดินทาง

  9. เครื่องบิน 1. ระดับ 6 ขึ้นไป * ชั้นประหยัด ระดับ 9 ขึ้นไป * ชั้นธุรกิจ ระดับ 10 ขึ้นไป * ชั้นหนึ่ง 2. ระดับ 5 ลงมากรณีมีความจำเป็นเร่งด่วน * ชั้นประหยัด3. ไม่เข้าหลักเกณฑ์ 1 และ 2 ให้เบิกได้เทียบเท่าภาคพื้นดิน

  10. ค่าโดยสารรถไฟ เบิกประเภทรถด่วนพิเศษ ชั้นที่ 1 นั่งนอนปรับอากาศ (บนอ.ป.) ได้ ตั้งแต่ระดับ 6 ขึ้นไป

  11. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจ่ายเงินค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ. 2550 การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการในวันทำการ ให้มีสิทธิเบิกเงินค่าตอบแทนได้ ไม่เกินวันละ 4 ชั่วโมง ในอัตราชั่วโมงละ 50 บาท การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการในวันหยุดราชการ ให้มีสิทธิเบิกเงินค่าตอบแทนได้ ไม่เกินวันละ 7 ชั่วโมง ในอัตราชั่วโมงละ 60 บาท

  12. ระเบียบการจ่ายเงินสวัสดิการ เกี่ยวกับการศึกษาของบุตร “บุตร”หมายความว่า บุตรชอบด้วยกฎหมาย อายุไม่เกิน ยี่สิบห้าปีในวันที่ 1 พฤษภาคม ของทุกปี บุตรบุญธรรม ไม่มีสิทธิ บุตรซึ่งยกให้เป็นบุตรบุญธรรมของผู้อื่น ไม่มีสิทธิ

  13. “ผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร”“ผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร” **ข้าราชการหรือลูกจ้างประจำซึ่งได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้าง จากเงินงบประมาณรายจ่ายหมวดเงินเดือนหรือค่าจ้างประจำของกระทรวง ทบวง กรม **ผู้ได้รับบำนาญปกติ หรือผู้ได้รับบำนาญพิเศษเหตุทุพพลภาพ ตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการ และทหารกองทุนมีเบี้ยหวัดตามข้อบังคับกระทรวงกลาโหมว่าด้วยเงินเบี้ยหวัด

  14. แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเบิกเงินสวัสดิการค่ารักษารักษาพยาบาลแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเบิกเงินสวัสดิการค่ารักษารักษาพยาบาล ค่ารักษาพยาบาล” หมายความว่าเงินที่สถานพยาบาลเรียกเก็บในการรักษาพยาบาล ดังนี้ (1) ค่ายา ค่าเลือด และส่วนประกอบของเลือด หรือสารทดแทน ค่าน้ำยา หรืออาหารทางเส้นเลือด ค่าออกซิเจน และอื่น ๆ ทำนองเดียวกันที่ใช้ในการบำบัดรักษาโรค (2) ค่าอวัยวะเทียมและอุปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรค รวมทั้งค่าซ่อมแซม (3) ค่าบริการทางการแพทย์ ค่าตรวจ ค่าวิเคราะห์โรค แต่ไม่รวมถึงค่าจ้างผู้พยาบาลพิเศษ ค่าธรรมเนียมพิเศษ และค่าบริการอื่นทำนองเดียวกันที่มีลักษณะเป็นเงินค่าตอบแทนพิเศษ (4) ค่าห้องและค่าอาหารตลอดเวลาที่เข้ารับการรักษาพยาบาล (5) ค่าตรวจสุขภาพประจำปี

  15. “ผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล” ประกอบด้วย ☺ข้าราชการ และลูกจ้างประจำ ซึ่งได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้างประจำจากเงินงบประมาณรายจ่ายหมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำของกระทรวง ทบวง กรม ☺ลูกจ้างชาวต่างประเทศซึ่งมีหนังสือสัญญาจ้างที่ได้รับค่าจ้าง จากเงินงบประมาณรายจ่ายและสัญญาจ้างนั้นมิได้ระบุเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลไว้ ☺ผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ ☺บุคคลในครอบครัวผู้มีสิทธิ

  16. “บุคคลในครอบครัว” หมายถึง ♣บิดาหรือมารดาของผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล ♣คู่สมรสของผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล ♣บุตร ☼ยกเว้น –บุตรบุญธรรม -บุตรซึ่งยกให้เป็นบุตรบุญธรรมของบุคคลอื่นแล้ว

  17. ☺ผู้มีสิทธิสามารถเข้าระบบตรวจสอบสิทธิค่ารักษาพยาบาลได้ตามเว็ปไซด์ของกรมบัญชีกลางดังนี้☺ผู้มีสิทธิสามารถเข้าระบบตรวจสอบสิทธิค่ารักษาพยาบาลได้ตามเว็ปไซด์ของกรมบัญชีกลางดังนี้ http://welcgd.cgd.go.th/wel /checktsteqp

  18. ใบเสร็จรับเงิน : หัวใจสำคัญในการเบิกจ่าย ใบเสร็จรับเงินที่ถูกต้องอย่างน้อยต้องมี 1. ชื่อ สถานที่อยู่ หรือที่ทำการของผู้รับเงินและผู้ประกอบการ 2. วัน เดือน ปี ที่รับเงิน 3. รายการแสดงการรับเงินระบุว่า เป็นค่าอะไร 4. จำนวนเงินทั้งตัวเลขและตัวอักษร 5. ลายมือชื่อผู้รับเงิน

  19. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2555

  20. การจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และอัตราดังนี้1.ชั่วโมงการฝึกอบรมที่มีลักษณะเป็นการบรรยายให้จ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรได้ ไม่เกิน 1 คน2. ชั่วโมงการฝึกอบรมที่มีลักษณะเป็นการอภิบรายหรือสัมมนาเป็นคณะให้จ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรได้ ไม่เกิน 5 คน3. ชั่วโมงการฝึกอบรมที่มีลักษณะเป็นการแบ่งกลุ่มฝึกให้จ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรได้ ไม่เกินกลุ่มละ 2 คน4. หากมีจำนวนวิทยากรเกินกว่าที่กำหนดไว้ดังกล่าว ให้เฉลี่ยจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรไม่เกินภายในจำนวนเงินที่จ่ายได้ตามหลักเกณฑ์

  21. การนับชั่วโมงการฝึกอบรมให้นับตามเวลาที่กำหนดในตารางการฝึกอบรมไม่น้อยกว่า 50 นาที1 ชั่วโมงไม่น้อยกว่า 25 นาที แต่ไม่ถึง 50 นาทีครึ่งชั่วโมง**ไม่ต้องหักเวลาพักรับประทานอาหารว่างออกจากเวลาบรรยาย

  22. อัตราค่าสมาคุณวิทยากรวิทยากร1.วิทยากรเป็นบุคลากรของรัฐประเภท กไม่เกินชั่วโมงละ 800 บาทประเภท ขไม่เกินชั่วโมงละ 600 บาท2.วิทยากรไม่ใช่บุคลากรของรัฐประเภท กไม่เกินชั่วโมงละ 1,600 บาทประเภท ขไม่เกินชั่วโมงละ 1,200 บาท**กรณีจ่ายค่าสมนาคุณให้แก่วิทยากรที่มีความรู้ความสามารถ และประสบการณ์เป็นพิเศษเพื่อประโยชน์ในการฝึกอบรมตามโครงการหรือหลักสูตรที่กำหนด นี้ได้ ให้อยู่ในดุลพินิชของหัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ

  23. การเบิกจ่ายค่าตอบแทนนักเรียน นักศึกษา ช่วยปฏิบัติงานราชการปฏิบัติงานเต็มวันไม่น้อยกว่า 7 ชั่วโมง ไม่รวมเวลาพักวันละ 200 บาท ปฏิบัติงานครึ่งวันไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมงครึ่ง (ช่วงเช้า/ช่วงบ่าย)ช่วงละ 100 บาท กรณีไม่เข้าตามเกณฑ์ข้างต้นให้จ่ายค่าตอบแทนเมื่อปฏิบัติงานครบ 1 ชั่วโมงชั่วโมงละ 25 บาท

  24. จบแล้วจ้า

More Related