1 / 39

การวิจัยและสถิติ

การวิจัยและสถิติ. ปราณี นิลกรณ์. การวิจัย และ สถิติ. การวิจัยและสถิติมีความสัมพันธ์กันในเกือบทุกขั้นตอนของการวิจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัยจะมีความเชื่อถือได้ ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสรุปผลได้ถูกต้อง จำเป็นต้องเลือกใช้สถิติให้เหมาะสม

angus
Download Presentation

การวิจัยและสถิติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวิจัยและสถิติ ปราณี นิลกรณ์

  2. การวิจัย และ สถิติ • การวิจัยและสถิติมีความสัมพันธ์กันในเกือบทุกขั้นตอนของการวิจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การวิจัยเชิงปริมาณ • การวิจัยจะมีความเชื่อถือได้ ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสรุปผลได้ถูกต้อง จำเป็นต้องเลือกใช้สถิติให้เหมาะสม • นักวิจัยจึงควรทราบวิธีการใช้สถิติที่เหมาะสมและสอดคล้องกับงานวิจัย

  3. การวิจัย และ สถิติ • ความตรง(Validity)วิธีการศึกษานี้(การวัดค่าตัวแปร) ช่วยตอบคำถามการวิจัยหรือไม่ หรือตรงกับวัตถุประสงค์การวิจัยหรือไม่? • ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ/แบบสอบถาม(Reliability) เครื่องมือที่ใช้ เมื่อนำมาวัดซ้ำ ได้คำตอบเหมือนเดิมหรือไม่ • การวิเคราะห์ (Analysis)ควรจะวิเคราะห์ข้อมูลอย่างไร ตีความผลการวิเคราะห์อย่างไร รายงานผลอย่างไรจึงจะตอบคำถามการวิจัยและผลการวิจัยเป็นที่น่าเชื่อถือ • ประสิทธิภาพ(Efficiency)ควรวางแผนการวิจัยอย่างไร จึงจะมีประสิทธิภาพ (วางแผนการทดลองแบบไหน? เลือกตัวอย่างอย่างไร ขนาดตัวอย่างควรเป็นเท่าไร?)

  4. การนิยามปฏิบัติการ(Operationalization)การนิยามปฏิบัติการ(Operationalization) • ในทางพฤติกรรมศาสตร์ เราต้องชัดเจนว่าเราต้องการวัดอะไร • นิยามปฏิบัติการOperational Definitionคือนิยามแนวคิด(concept)ในเทอมของการดำเนินการ(operations) ที่ใช้วัดแนวคิดนั้น • นิยามตัวแปรใหม่ในเทอมของขั้นตอนทางกายภาพ • ให้ความหมายของแนวคิดโดยการชี้ให้เห็นว่ามี operation อะไรบ้างที่ต้องทำให้สำเร็จจึงจะถือว่าเราวัด concept นั้นออกมา

  5. การนิยามปฏิบัติการ • “ความจำ” operationalizedโดยจำนวนคำที่แต่ละคนจำได้จากเรื่องที่อ่านให้ฟัง • “ความไม่ไว้ใจมนุษย์”(misanthropy) วัดโดยใช้แบบสอบถามที่พัฒนาขึ้นเกียวกับความไม่ไว้วางใจคน

  6. Operational Definition Theory or idea Self-esteem Operational definition I feel good about myself... Reality 1 2 3 4 5 SD D N A SA

  7. Validity วัดในสิ่งที่ต้องการวัด • Content Validity ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบเครื่องมือ • Construct Validity เครื่องมือมีโครงสร้างตามแนวคิด ทฤษฎีที่เป็นฐานการวิจัยหรือไม่ Confirmatory Factor Analysis(CFA) • ฯลฯ

  8. Reliability ความเชื่อมั่น/ความเที่ยง • Cronbach’s Alpha • (Kuder Richardson กรณี 0,1)

  9. Validity and reliability

  10. ประชากร และ ตัวอย่าง สถิติอนุมาน ใช้ข้อมูลที่ได้จากตัวอย่าง ไปสรุปประชากร ประชากร - พารามิเตอร์ ตัวอย่าง-ค่าสถิติ

  11. ระเบียบวิธีทางสถิติ (Statistical Methods) • สถิติพรรณนา(Descriptive statistics) • เก็บรวบรวมข้อมูลและอธิบายข้อมูล เฉพาะส่วนที่เก็บมา • สถิติอนุมาน(Inferential statistics) • สรุปหรือตัดสินใจเกี่ยวกับลักษณะของประชากรโดยใช้ข้อมูลจากตัวอย่าง • การประมาณค่า แบบจุด แบบช่วง(confidence interval, credible interval) • การทดสอบสมมติฐาน • การจำแนก การจัดกลุ่ม(classification, clustering)

  12. การสุ่มตัวอย่าง • เป้าหมาย • เพื่อให้ได้ตัวแทนที่ดีของประชากร • ขั้นตอน • กำหนดประชากรเป้าหมาย • กำหนดกรอบตัวอย่าง(ถ้าทำได้) • กำหนดขนาดตัวอย่าง • เข้าใจธรรมชาติของประชากรเพื่อเลือกวิธีสุ่มตัวอย่าง • สุ่มตัวอย่าง

  13. กำหนดประชากรเป้าหมาย(target population) • ประชากรเป้าหมาย • หน่วยวิเคราะห์,หน่วยตัวอย่าง(unit of analysis, sampling unit) • ความครอบคลุม เช่น เขตภูมิศาสตร์ ขอบเขตด้านคุณลักษณะของตัวอย่าง เช่นอายุ เพศ ฯลฯ • วัตถุประสงค์การวิจัย • ขอบเขตการวิจัย • วิธีดำเนินการวิจัย

  14. การกำหนดประชากรเป้าหมาย(ต่อ)การกำหนดประชากรเป้าหมาย(ต่อ) • ขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เช่น ภาค จังหวัด • ขอบเขตด้านคุณลักษณะของหน่วยตัวอย่าง เช่น อายุ เพศ เช่น เยาวชนในจังหวัดเชียงราย (อายุระหว่าง ----- ปี) รวมต่างด้าว?

  15. กำหนดกรอบตัวอย่าง • กรอบตัวอย่าง: รายการที่สมบูรณ์ของสมาชิกในประชากรเป้าหมายเพื่อนำมาใช้เลือกตัวอย่าง • รายการที่อยู่ในกรอบตัวอย่างต้องสอดคล้องกับประชากรเป้าหมาย • รายการที่กำหนดขึ้น ต้องสามารถนำมาใช้เลือกตัวอย่างในการปฏิบัติจริงได้

  16. กำหนดขนาดตัวอย่าง ปัจจัยที่มีผลต่อขนาดตัวอย่าง(n) • ขนาดของประชากร (N) • ความแปรปรวนของประชากร(Variability of the population) (s2) • ระดับความถูกต้องที่ต้องการ(accuracy )(ยอมให้คลาดเคลื่อนจากค่าจริงเท่าไร ) • ระดับความเชื่อมั่นที่ต้องการ(Level of confidence (1-a)) (การประมาณค่า จะใช้ระดับความเชื่อมั่นเท่าใด)

  17. กำหนดขนาดตัวอย่าง นอกจากนั้น อาจมีปัจจัยด้านการจัดการที่มีผลต่อการกำหนดขนาดตัวอย่างอีก เช่น • ระยะเวลา • งบประมาณ • จำนวนบุคลากรในการเก็บรวบรวมข้อมูล • ลักษณะของปัญหาและวัตถุประสงค์ของการวิจัย

  18. Relative accuracy, sample size and population size • For larger population sizes it is not necessary to increase sample size • A sample size of 500 guarantees an error below 5% for any population size • Above a size of 500, it is better to consider spending money on reducing non-sampling errors Ref.:Mazzocchi(2008) Statistics for Marketing and consumer Research, Sage Plubications.

  19. การกำหนดขนาดตัวอย่าง • เปิดตาราง YAMANE • คำนวณจากสูตร • คำนวณเอง • โปรแกรม(เช่น PASS WEB) เจาะสำหรับแต่ละกรณีเช่น เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย เปรียบเทียบสัดส่วน

  20. วิธีการสุ่มตัวอย่าง (สุ่มตัวอย่างแบบ Non-Prabability Sampling มีปัญหาในแง่การอนุมาน) ตัวอย่าง Probability Samples Non-Probability Samples Simple Random Stratified convenient Judgement Cluster Systematic Quota

  21. การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย VSการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ • ลักษณะของประชากรคล้ายคลึงมากน้อยแค่ไหน • มีกรอบตัวอย่างหรือไม่ • ตัวแปรที่จะใช้ในการแบ่งชั้นภูมิ(stratification)มีอยู่ในกรอบตัวอย่างหรือไม่ ( เช่น แบ่งตามรายได้ครัวเรือน) • SRS หน่วยตัวอย่างในประชากรมีลักษณะคล้ายคลึงกัน • Stratified หน่วยตัวอย่างของประชากรในแต่ละชั้นภูมิ(กลุ่ม)คล้ายคลึงกัน และที่อยู่ในต่างชั้นภูมิ(กลุ่ม)แตกต่างกัน โดยเฉพาะในตัวแปรที่ต้องการศึกษา

  22. สุ่มอย่างง่าย(Simple random sampling:SRS) • ทุกหน่วยมีความน่าจะเป็นที่จะถูกเลือกเท่ากัน

  23. สุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ(Stratified random sampling) • แบ่งหน่วยตัวอย่างเป็นกลุ่มที่ประชากรในกลุ่มมีลักษณะคล้ายคลึงกันตามลักษณะใดลักษณะหนึ่ง • สุ่มตัวอย่างจากแต่ละกลุ่มให้ครบทุกกลุ่ม โดยจำนวนตัวอย่างที่สุ่มจากแต่ละกลุ่มนิยมใช้ให้ผันแปรตรงกับขนาดประชากรในกลุ่ม(proportional allocation) • ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องศึกษากระบวนการตัดสินใจของผู้บริหาร อาจต้องแยกประชากรเป็น 2 กลุ่ม คือ ชาย และ หญิง เนื่องจากการตัดสินใจของผู้บริหารชายและหญิงไม่เหมือนกัน ถ้าไม่แบ่ง อาจได้แต่ผู้บริหารชายมา ทำให้ได้ตัวแทนที่ไม่ดีของประชากร

  24. การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม(Cluster Random Sampling) • แบ่งประชากรออกเป็นกลุ่มๆตามพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ตามสถาบันหน่วยงานฯลฯ เลือกมาเพียงบางกลุ่ม • -ประชากรที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันครอบคลุมทุกลักษณะของประชากร • -แต่ละกลุ่มมีลักษณะคล้ายคลึงกัน • สุ่มบางกลุ่มมาเป็นตัวแทนของทุกกลุ่ม ประชากรในกลุ่มที่สุ่มมาได้อาจนำมาใช้เป็นตัวอย่างทั้งหมดหรืออาจเลือกจากในกลุ่มอีกทีก็ได้ • ตัวอย่างเช่น แบ่งประชากรเป็นภาค และเป็นรายจังหวัด ในแต่ละภาค สุ่มจังหวัดมา 3 จังหวัด Silpchai Nilkorn

  25. การวัด • การกำหนดค่าให้แก่ตัวแปร • เช่น • ตัวแปร เพศ ค่า ชาย หญิง • ตัวแปร ความสูง ค่า 150 ซ.ม. • ตัวแปร อุณหภูมิ ค่า 100 องศาเซลเซียส

  26. ระดับการวัด 4 ระดับ (NOIR) • Nominal: (“categorical”) วัดหยาบสุด แบ่งกลุ่มตามลักษณะที่เหมือนกัน • Ordinal: กลุ่มต่าง + เรียงอันดับกลุ่มได้( เช่น จากน้อยไปมาก) • Interval: มีคุณสมบัติ (1+2) + มีหน่วยมาตรฐานบอกความแตกต่างระหว่างกลุ่ม • Ratio: มีคุณสมบัติ (1+2+3) + มีศูนย์แท้

  27. ระดับการวัด และ สถิติ • ระดับการวัดเป็นปัจจัยสำคัญปัจจัยหนึ่งในกำหนดวิธีการทางสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล • สถิติพรรณนา • ข้อมูลเชิงคุณภาพ (NO) ความถี่ ร้อยละ • ข้อมูลเชิงปริมาณ (IR) ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

  28. ระดับการวัดและสถิติ

  29. ตัวอย่าง 1

  30. ตัวอย่าง 1 (ต่อ)

  31. ตัวอย่าง 2

  32. ตัวอย่าง 2 (ต่อ)

  33. ตัวอย่าง 3 การประเมินภาวะผู้นำ คุณภาพIT และประโยชน์ที่ประชาชนได้รับจากระบบ e-government

  34. ตัวอย่าง 3 (ต่อ)

  35. Regression X1 Y X2 X3 Observed Variables Y เชิงปริมาณ, Normal X4

  36. Path Model X1 Y X2 X3 Observed Variables X4

  37. Factor Analysis Model X1 X2 Y Observed Variables X3 Latent Variables X4

  38. Observed Variables SEM Modelstructural equation modeling Latent Variable Z1 X1 X2 Z2 Z X X3 Z3 X4 Z4 Y1 Y Y2 Y3 Factor Models +Path Models Y4

  39. Discriminant Analysis,Logistic Regression,Clustering • ปัจจัยด้านการบริหาร(X1, X2, X3,…,Xk) ที่มีผลต่อความสำเร็จขององค์กร(y สำเร็จ/ไม่สำเร็จ) X1 Y 0/1 X2 X3 X4

More Related