1 / 15

5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ

5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ. การมีภาครัฐบาล มีส่วนเกี่ยวข้องกับธุรกิจ 2 ด้านคือ การใช้จ่ายของรัฐบาล การเก็บภาษีของรัฐบาล การใช้จ่ายและเก็บภาษีของรัฐบาลมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจทั้งในแง่เพิ่มและลดรายได้ประชาชาติ การใช้จ่ายของรัฐ ช่วยเพิ่มรายได้ นั่นคือ เศรษฐกิจขยายตัว

anise
Download Presentation

5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ • การมีภาครัฐบาล มีส่วนเกี่ยวข้องกับธุรกิจ 2 ด้านคือ • การใช้จ่ายของรัฐบาล • การเก็บภาษีของรัฐบาล • การใช้จ่ายและเก็บภาษีของรัฐบาลมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจทั้งในแง่เพิ่มและลดรายได้ประชาชาติ • การใช้จ่ายของรัฐ ช่วยเพิ่มรายได้ นั่นคือ เศรษฐกิจขยายตัว • การเก็บภาษีของรัฐ ทำให้รายได้ลดลง นั่นคือ เศรษฐกิจหดตัว

  2. การใช้จ่ายของรัฐช่วยให้เศรษฐกิจขยายตัวการใช้จ่ายของรัฐช่วยให้เศรษฐกิจขยายตัว Y = C + I + G C + I+ G C + I Y1 Y2

  3. ผลกระทบจากการใช้จ่ายของรัฐบาลผลกระทบจากการใช้จ่ายของรัฐบาล • ถ้ารัฐบาลเพิ่มค่าใช้จ่ายมากขึ้น เศรษฐกิจก็จะขยายตัว • ถ้ารัฐบาลลดค่าใช้จ่ายลง รายได้ประชาชาติและเศรษฐกิจก็จะลดลง • ผลกระทบขึ้นกับตัวทวีคูณ (multiplier) Y = a + mpcY + I + G …(1) (1-mpc)Y = a + I + G mpsY = a + I + G Y = (a + I + G)/mps …(2)

  4. ผลกระทบจากการใช้จ่ายของรัฐบาลผลกระทบจากการใช้จ่ายของรัฐบาล • ถ้าเรา dif สมการที่ 2 เทียบกับ I หรือ G จะพบว่า รายได้ประชาชาติจะเปลี่ยนไป (เศรษฐกิจจะขยายหรือหดตัว) เท่ากับ 1/mps นั่นคือ Y = 1/mps * G …(1) • ค่า 1/mps คือ ตัวทวีคูณรายได้ประชาชาติเช่น ถ้า mps = 0.25 ทุกๆ บาทของงบประมาณรัฐบาลจะทำให้รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น 4 บาท

  5. การเก็บภาษีของรัฐบาล • การเก็บภาษีมีผลให้รายได้ที่จับจ่ายใช้สอยได้ของประชาชนลดลงจึงมีผลกระทบต่อรายได้ Y =a + mpc(Y-T) + I + G Y = (a – mpc*T + I + G)/mps Y = a + mpc(Y-tY) + I + G Y = a + mpc*t*Y + I +G Y = (a + I + G)/(1 - mpc*t)

  6. การเก็บภาษีของรัฐบาล • จะเห็นว่าตัวทวีคูณรายได้ประชาติในกรณีการเก็บภาษีเป็นสัดส่วนตามรายได้มีผลให้รายได้ประชาชาติเปลี่ยนแปลงไปน้อยกว่ากรณีการไม่เก็บภาษีหรือเก็บภาษีแบบเหมาจ่าย 1/mps มากกว่า 1/(1 - mpc*t)

  7. ผลจากการใช้จ่ายและเก็บภาษีของรัฐบาลผลจากการใช้จ่ายและเก็บภาษีของรัฐบาล C + I+ G CT + I+ G C + I CT + I Y1 Y4

  8. นโยบายการคลังของรัฐบาลนโยบายการคลังของรัฐบาล • รัฐดำเนินนโยบายการคลังโดยการควบคุมค่าใช้จ่ายของรัฐและการกำหนดภาษี • รัฐสามารถทำให้การว่างงานลดลงหรือมีการจ้างงานเต็มที่ได้ด้วยการดำเนินนโยบายการคลัง • รัฐบาลจะไม่จ่ายงบประมาณมากจนกระทั้งเกิดเงินเฟ้อบริสุทธิ์ (Pure Inflation)

  9. นโยบายการคลังของรัฐบาล (Fiscal Policy) C + I+ G’ C + I+ G C + I Y1 Y2 Y3

  10. การกำหนดนโยบายการคลังของรัฐบาลการกำหนดนโยบายการคลังของรัฐบาล • การเพิ่มค่าใช้จ่ายของรัฐบาลมีผลให้รายได้ประชาชาติเพิ่ม • การเก็บภาษีทำให้รายได้ประชาชาติลดลง • รัฐบาลต้องเก็บภาษีมาเป็นค่าใช้จ่าย • รัฐบาลสามารถดำเนินกำหนดนโยบายได้ 3 ทาง • นโยบายได้ดุล รัฐใช้จ่ายเท่ากับภาษีที่เก็บได้ • นโยบายเกินดุล รัฐใช้จ่ายน้อยกว่าที่เก็บภาษีได้ • นโยบายขาดดุล รัฐใช้จ่ายมากกว่าภาษีที่เก็บได้

  11. การกำหนดนโยบายการคลังของรัฐบาลการกำหนดนโยบายการคลังของรัฐบาล • การใช้นโยบาย expansionary vs. contraction เพื่อแก้ปัญหาวงจรธุรกิจ (Business Cycle) • ช่วงเศรษฐกิจเจริญเติบโต (Blooming) ใช้นโยบาย contraction เก็บภาษีแก่ภาคธุรกิจที่เจริญมากไป • ช่วงเศรษฐกิจตกต่ำ (Recession) ใช้นโยบาย expansionary ลดหย่อนภาษีแก่ธุรกิจที่ซบเซา

  12. นโยบายการเงิน (Monetary Policy) • การควบคุมปริมาณเงิน (Money Supply) • M1 = general purpose money, narrow money ปริมาณเงินทั้งในรูปเหรียญกระษาปณ์และแบงค์ รวมกับ Demand Deposits (เช็ค) • M2= Broad money ซึ่งมีค่าเท่ากับ M1 + Saving and Time Deposits

  13. Quantity Theory of Money • ราคาสินค้าและบริการสัมพันธ์กับปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ • เมื่อมีภาวะเงินเฟ้อ ประชาชนต้องการใช้เงินมากขึ้นเพื่อซื้อสินค้าและบริการ • ถ้ามีปริมาณเงินมาก ก็จะทำให้เกิดเงินเฟ้อ (หรือปริมาณเงินเป็นสาเหตุของเงินเฟ้อ) • P = k*M (ราคาเป็นสัดส่วนของปริมาณเงิน)

  14. Quantity Theory of Money • ค่า k มีแนวคิดมาจาก “การหมุนเวียนของเงินในระบบเศรษฐกิจ (velocity of circulation)” V  PQ/M นั่นคือ MV  PQ P  (V/Q)*M => P = k*M • Modernized Quantity Theory (โดย Milton Friedman) เห็นว่า V สามารถคาดคะเนค่าได้ ดังนั้น การควบคุม M ก็จะสามารถควบคุม GNP และเงินเฟ้อได้

  15. นโยบายการเงินของรัฐบาล(โดยธนาคารแห่งชาติ)นโยบายการเงินของรัฐบาล(โดยธนาคารแห่งชาติ) • การควบคุมการพิมพ์เงิน (Fait Money Authority) • การกำหนดอัตราเงินสำรอง (Reserve Requirements) • การกำหนดอัตราคิดลด (Discount Rate) • การซื้อขายพันธบัตรของรัฐบาล (Open Market Operation) • การขอความร่วมมือ (Moral Suasion or Jawboning)

More Related