1 / 42

เมื่อไทยก้าวสู่ประชาคมอาเซียน กับ ทิศทางการ พัฒนานิสิต

เมื่อไทยก้าวสู่ประชาคมอาเซียน กับ ทิศทางการ พัฒนานิสิต. ดร . จิรวัฒน์ วีรังกร. เป้าหมายการสัมมนาวันนี้. สร้างความเข้าใจร่วมกัน ชี้ประเด็น เห็นปัญหา ระดมความคิดเพื่อเตรียมการ. พัฒนานิสิต คือ ทำให้นิสิตเกิดพัฒนาการ.

annick
Download Presentation

เมื่อไทยก้าวสู่ประชาคมอาเซียน กับ ทิศทางการ พัฒนานิสิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เมื่อไทยก้าวสู่ประชาคมอาเซียน กับทิศทางการพัฒนานิสิต ดร.จิรวัฒน์ วีรังกร

  2. เป้าหมายการสัมมนาวันนี้ สร้างความเข้าใจร่วมกัน ชี้ประเด็น เห็นปัญหา ระดมความคิดเพื่อเตรียมการ

  3. พัฒนานิสิต คือ ทำให้นิสิตเกิดพัฒนาการ พัฒนาการรอบด้านของความเป็นมนุษย์- พัฒนาการทางการเรียนรู้- พัฒนาการทางความคิด- พัฒนาการทางสติปัญญา- พัฒนาการทางอารมณ์- พัฒนาการทางบุคลิกภาพ- พัฒนาการทางจิตสำนึกรับผิดชอบ- พัฒนาการทางสังคม

  4. ประเด็นพิจารณา • ปัจจัยกดดัน (Pressure Factor) มีตลอดเวลา • แนวคิดพัฒนานิสิตเปลี่ยนไปตามยุคสมัย • กิจการนิสิตควรปรับตนเองอย่างไร • เพื่อนิสิตยุคใหม่พัฒนา แนวคิดเดิม โครงสร้างเดิม วิธีปฏิบัติ ในรูปแบบเดิม ยังใช้ได้หรือไม่

  5. Pressure Factorผลกระทบต่อการพัฒนานักศึกษา ปัจจัยภายนอก*Faster Globalization* ไทยก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2558(ASIAN COMMUNITY) ปัจจัยภายใน* นโยบายประเทศไทยน่าอยู่ ของ สกอ. - เสริมสร้างความเป็นพลเมือง

  6. 21 st Century • โลกที่เชื่อมโยงกัน ส่งผลถึงกัน (สภาวะไร้พรมแดน) * การเมือง * เศรษฐกิจ * ความรู้ / เทคโนโลยี • Cross – Cultural (คลื่นวัฒนธรรมข้ามชาติ) * สภาวะซึมซับ – รับเอา • สภาวะการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา (Change) * ความไม่แน่นอน - รู้เท่า รู้ทัน ตามทัน - ภูมิคุ้มกัน Strong Thai Culture - ปรับตัว / ปรับปรุง / ปรับเปลี่ยน / ปรับใจ- เรียนรู้ / แลกเปลี่ยนเรียนรู้ / พัฒนาตนอยู่เสมอ- คิดใหม่ / คิดวิเคราะห์ / คิดจำแนกแยกแยะ

  7. Essential 21 st Century Student Skills • Effective Communication : Reading, Presentation, interpersonal skill • Thinking Skill (Creative, Critical, Analysis, Problem solving, futuristic) • Cross – Cultural Understanding • Collaboration , Teamwork , Leadership • Information & Media Literacy • Computing & ICT Literacy • Learning Skill • Life & Social Skill

  8. ชีวิตนิสิต กับ สถานการณ์อนาคต ชีวิตในศตวรรษที่ 21 ชีวิตภายใต้สังคมที่เปลี่ยนแปลงและ แตกต่างจากอดีต และเพิ่มมากขึ้นในอนาคต

  9. บัณฑิตยุคใหม่ Knowledge Worker & Learning Person

  10. บัณฑิตยุคใหม่ • Learning Skill • Adaptability Skill • Life Skill (Pluralistic Society) • Work Skill

  11. ASEAN COMMUNITYASEAN BECOME ONE

  12. ASEAN Community Pluralistic Society

  13. ประชาคมอาเซียน ASEAN Community เป้าหมายสำคัญ- การทำให้ประเทศสมาชิกเป็น “ครอบครัวเดียวกัน (ความเป็นอยู่ที่ดี มีความปลอดภัยค้าขายสะดวก)- เพิ่มอำนาจการต่อรอง และขีดความสามารถ ในการแข่งขัน- สามารถรับมือกับปัญหาระดับโลกที่ส่งผล กระทบต่อ ASEAN

  14. ประชาคมอาเซียน ASEAN Community ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ปี 2558)(ASEAN Political Security Community)กติกา ค่านิยมร่วมกัน , สันติสุข , สันติวิธี , มั่นคงรอบด้าน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN Economic Communityมั่นคง มั่งคั่ง แข่งขันได้ - Asian Free Trade Area (เขตการค้าเสรีอาเซียน) - ตลาดเดียว - ขยายการค้าและการลงทุนในเขตภูมิภาค

  15. ประชาคมอาเซียน ASEAN Community สังคมเอื้ออาทร คุณภาพชีวิต ความมั่นคงทางสังคม ความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม ความเข้าใจระหว่างประชาชน)

  16. ประชาคมอาเซียน ASEAN Communityสะท้อนการพึงพาอาศัยกัน + ความร่วมมือกัน การแข่งขันควบคู่ความร่วมมือ

  17. อาเซียน บวก 3 คือ บวก จีน ญี่ปุ่น เกาหลี อาเซียน บวก 6 คือ บวก จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย

  18. Location ไทย ความเสี่ยงสูงกว่าใครในประชาคมอาเซียน

  19. ภาพอนาคตที่อาจเกิดขึ้น (Scenario) • การเดินทางผ่าน เข้า-ออก ประเทศไทย ของคนประเทศเพื่อนบ้าน • มีสถาบันการศึกษาจากประเทศเพื่อนบ้านเข้า มาตั้งในประเทศไทย (สิงคโปร์ มาเลเซีย) • คนประเทศเพื่อนบ้านมาทำงานและศึกษาในไทยเพิ่มมากขึ้น • ร้านอาหารอาเซียนอาจจะเพิ่มมากขึ้น • สังคมไทยจะกลายเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมเพิ่มมากขึ้น • ฯลฯ

  20. ประเทศไทยภายใต้ประชาคมอาเซียนประเทศไทยภายใต้ประชาคมอาเซียน • อำนาจอธิปไตยของประเทศอาจลดลง (สละประโยชน์รัฐเพื่อประโยชน์ของอาเซียน) • ไทยอาจขาดดุลด้านสังคมวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ความเป็นธรรมในสังคม) • ประเด็นแรงงานข้ามชาติ อาจกระทบการมีงานทำของบัณฑิตไทย • ความเสี่ยงด้านความมั่นคง • ภาษาที่ใช้ในประชาคมอาเซียน คือ อังกฤษ

  21. ประเทศไทยภายใต้ประชาคมอาเซียนประเทศไทยภายใต้ประชาคมอาเซียน • โครงสร้างทางประชากรไทยเปลี่ยนไป ไทยเริ่ม เข้าสู่ Aging Society • การย้ายถิ่นของกำลังแรงงานข้ามชาติ • ปัญหาไทย คือ ปัญหาอาเซียน

  22. ประเทศไทยภายใต้ประชาคมอาเซียนประเทศไทยภายใต้ประชาคมอาเซียน • บุคลากรในอาเซียนจะสามารถเดินทางมาเข้า ทำงานในประเทศอาเซียนเดียวกัน

  23. ปฏิญญาอาเซียนด้านการศึกษาปฏิญญาอาเซียนด้านการศึกษา การเผยแพร่ความรู้ ข่าวสารเกี่ยวกับ อาเซียน การเตรียม นักเรียน นักศึกษา ประชาชนให้มีทักษะที่เหมาะสมเพื่อเตรียมความพร้อม* ภาษาอังกฤษ* ภาษาของประเทศเพื่อนบ้านที่จำเป็น* เทคโนโลยีสารสนเทศ* ทักษะ ความชำนาญที่สอดคล้องกับ การปรับตัว และการเปลี่ยนแปลงทาง อุตสาหกรรม* การเพิ่มโอกาสการหางานของประชาชน* การปรับตัวกับมาตรฐานการทำงานที่เป็นสากล

  24. ปฏิญญาอาเซียนด้านการศึกษาปฏิญญาอาเซียนด้านการศึกษา การพัฒนามาตรฐานการศึกษา เพื่อรองรับการ Rotate ของ ผู้เรียน ครู อาจารย์ ใน ASEAN การเตรียมความพร้อมเพื่อเปิดเสรีทางการศึกษาและการเปิดเสรีในการเคลื่อนย้ายแรงงาน การพัฒนาเยาวชนในการก้าวสู่ ASEAN Community

  25. ข้อมูลน่าสนใจ ในบรรดาประเทศสมาชิก 10 ประเทศในอาเซียน ไทยอยู่อันดับ 8 ในการสร้างความตระหนักความรู้เกี่ยวกับ ASEAN

  26. ข้อน่าเป็นห่วง โอกาสทองของคนประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศสิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ เวียดนาม อินโดนีเซีย มีพื้นฐานทางภาษา ที่ 2 และภาษาที่ 3 มากกว่าไทย คนชาติเพื่อนบ้านพูดภาษาไทยได้ แต่คนไทยมีจำนวนน้อย พูดภาษาเพื่อนบ้านได้ บัณฑิตไทยอาจถูกแย่งงานมากขึ้น ค่าจ้างอาจถูกลง ความสนใจประเทศเพื่อนบ้านย่านอาเซียนของนิสิตนักศึกษาไทย

  27. ข้อน่าเป็นห่วง อุดมศึกษาไทยยังไม่ขยับ จุดอ่อนของบัณฑิตไทย- ความอ่อนแอด้านภาษาอังกฤษ- ความมีวินัย- ความเป็นพลเมือง Privatize เด็กไทย & การแข่งขัน + ความร่วมมือ

  28. คุณภาพบัณฑิตในสภาวการณ์ปัจจุบันคุณภาพบัณฑิตในสภาวการณ์ปัจจุบัน • พร้อมใช้ชีวิตภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม(Pluralistics Society) • พร้อมเป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตย (Citizenship) • พร้อมที่จะทำงานในโลกโลกาภิวัตน์(Ready to work in Globalization World)

  29. Change = Adapt สถาบันอุดมศึกษาควรปรับตัวอย่างไร

  30. ประเด็นท้าทายด้านกิจการนิสิต1. จะสร้างนักศึกษาอย่างไร ให้มีความรู้ ทักษะความคิด การสื่อสาร เพื่อให้นักศึกษาสามารถอยู่ได้ในสภาวะการดำรงชีวิตและการทำงานภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม2. จะสร้างให้นักศึกษาพร้อมที่จะรับบทบาทผู้นำในประชาคมอาเซียน ได้อย่างไร3. “ความสามารถในการปลูกฝัง” จะเป็นประเด็นสำคัญในอนาคต สถาบันอุดมศึกษาจะมีแนวทางในการสร้างบุคลากรรุ่นใหม่อย่างไร

  31. เมื่อไทยก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนวิธีคิดด้านการพัฒนานักศึกษาย่อมเปลี่ยนไปเมื่อไทยก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนวิธีคิดด้านการพัฒนานักศึกษาย่อมเปลี่ยนไป

  32. Concept- พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน ระดับสากลของบัณฑิตไทย- การจัดการศึกษาในอนาคต ก้าวสู่หลักสูตร การศึกษาสำหรับภูมิภาคอาเซียน

  33. ทิศทางการพัฒนานิสิต (พลเมืองไทย + พลเมืองอาเซียน) • ปรับ Concept การผลิตบัณฑิต • สร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักในสถานการณ์ “ประชาคมอาเซียน”(Asian View + Global View) • สร้างโอกาสการเรียนรู้ภาษาเพื่อการสื่อสาร • ที่มากกว่าภาษาไทย - อังกฤษ • การสร้างความเป็นพลเมือง + ความสำคัญ ด้าน National Spirit • การเรียนรู้กติกาสากล

  34. ทิศทางการพัฒนานิสิต (พลเมืองไทย + พลเมืองอาเซียน) • ความเข้าใจวัฒนธรรมประเทศเพื่อนบ้าน • พัฒนาสมรรถนะการอยู่ร่วมกันภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม - การปฏิบัติต่อกัน ด้วยความเคารพกัน • เรียนรู้มาตรฐานวิชาชีพร่วมของอาเซียน(บัญชี วิศวกรรมศาสตร์ ทันตแพทย์ แพทยศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ พยาบาล วิชาชีพเหล่านี้สามารถเดินทางไปประกอบอาชีพในประเทศต่าง ๆ ของอาเซียน อย่างเสรี)

  35. บทบาทกิจการนิสิต • สร้างโอกาสในการรับรู้ “ประชาคมอาเซียน” แก่นักศึกษา และการเตรียมการ • ส่งเสริมให้มีกิจกรรมเรียนรู้ “วัฒนธรรมอาเซียน” • ผ่านกิจกรรมนักศึกษา • สร้าง “ผู้นำ”แห่งอนาคต • สร้างโอกาสเรียนรู้ “สังคมพหุวัฒนธรรม” • วินัยที่นักศึกษาควรเรียนรู้สำหรับสังคมพหุวัฒนธรรม ผ่านช่องทาง “กิจกรรมนักศึกษา” “กีฬา” “ศิลปวัฒนธรรม” “วินัยนักศึกษา”

  36. บทบาทกิจการนิสิต • เสริมสร้างแนวคิดการพัฒนาตนเอง เพื่อให้เกิดศักยภาพที่เพียงพอ ผ่านช่องทาง “แนะแนว” “พัฒนานักศึกษา” “ปฐมนิเทศนักศึกษา”

  37. บทบาทกิจการนิสิต • พัฒนากิจกรรมพัฒนานิสิต เพื่อ เสริมสร้างความเป็นพลเมือง* นักศึกษา ปี 1 และ 2 เสริมสร้างความเป็น พลเมืองในสถาบัน (Student Citizenship) * นักศึกษา ปี 3 และ 4 เสริมสร้างความเป็น พลเมืองของประเทศ และอาเซียน (Thai Citizenship & Global Citizenship) ผ่านช่องทาง “กิจกรรมนิสิต”

  38. บุคลากรกิจการนิสิตในอนาคต • เปลี่ยนนิสิต ต้อง เปลี่ยนอาจารย์ • บุคลากรกิจการนิสิตควรปรับตัวอย่างไร

  39. Trend กองกิจการนิสิตในอนาคต • Think KASETSART, Think Big , Think Future • ปรับการดำเนินงานสู่มาตรฐานสากลด้าน งานกิจการนิสิตเพื่อเพิ่มความสามารถ ในการแข่งขัน • ภารกิจด้านการบริการ โดยเฉพาะการดูแล ชีวิตนิสิตในมหาวิทยาลัย (Student Life) จะเพิ่มความสำคัญมากขึ้น • ภารกิจด้านพัฒนานิสิต จะมุ่งเน้นการ เสริมสร้างสมรรถนะในด้านต่าง ๆ มากขึ้น • ต้องการบุคลากรมืออาชีพเฉพาะด้านมากขึ้น

  40. Trend การจัดบริการนิสิตในอนาคต • ระบบการดูแลนิสิตเชิงบูรณาการ(Counseling Center + งานรักษาความปลอดภัย+ ระบบทะเบียนนิสิต + สถานพยาบาล + อาจารย์ ที่ปรึกษา + งานวินัยนิสิต) • งานบริการนิสิตนานาชาติ • ธรรมสถาน (สำหรับนิสิตมุสลิม) • งานด้านบริการจัดหางาน (Placement Service) • การดูแลงานบริการนิสิตแบบรวมศูนย์

  41. Trend กิจกรรมนิสิตในอนาคต • Asean Student Forum เพิ่มมากขึ้น • ค่ายอาสาพัฒนาก้าวข้ามประเทศ • แลกเปลี่ยนเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมนักศึกษา ในภูมิภาคอาเซียน • กิจกรรมแข่งขันทางวิชาการ • กิจกรรมแข่งขันในระดับนวัตกรรม • การศึกษาดูงาน (Student Visit) • Asean Student Network • การปรับรูปแบบองค์การนิสิต มก.

  42. Trend กิจกรรมพัฒนานิสิตในอนาคต • Office of Orientation Program • Leadership Training Center • Personality Training Center * Interpersonal Skill *Human Relation Skill • Learning Center • Work Skill Center • วินัยเพื่อสังคมพหุวัฒนธรรมในมหาวิทยาลัย

More Related