1 / 47

แนวทางการขึ้นทะเบียนหน่วย บริการ

แนวทางการขึ้นทะเบียนหน่วย บริการ. ความตามมาตรา ๔๔ พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕. “ให้สำนักงานจัดให้มี การขึ้นทะเบียน หน่วยบริการ และเครือข่าย หน่วยบริการ แล้วประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนทราบ เพื่อดำเนินการลงทะเบียนเลือก เป็นหน่วยบริการประจำของตนตามมาตรา ๖”.

Download Presentation

แนวทางการขึ้นทะเบียนหน่วย บริการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการแนวทางการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ

  2. ความตามมาตรา ๔๔ พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๕ “ให้สำนักงานจัดให้มีการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ และเครือข่ายหน่วยบริการแล้วประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนทราบ เพื่อดำเนินการลงทะเบียนเลือก เป็นหน่วยบริการประจำของตนตามมาตรา ๖”

  3. ความเข้าใจเกี่ยวกับ “หน่วยบริการ” สถานบริการ สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ ของเอกชน หรืออื่น ๆ ที่มีการประกอบโรคศิลปะสาขาต่าง ๆ หรือสถานบริการ สาธารณสุขอื่นที่คณะกรรมการกำหนดเพิ่มเติม หน่วยบริการ สถานบริการที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ตามข้อบังคับของ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการฯ ปี 2547

  4. สถานบริการจะขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการในระบบหลักประกันฯ ได้อย่างไร ? เกณฑ์ ประเมิน ขึ้น ทะเบียน หน่วย บริการ สถานบริการ หน่วยบริการ 4 ประเภท

  5. ข้อบังคับ สปสช.ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข การขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการและเครือข่ายบริการ พ.ศ. ๒๕๔๗ ข้อ ๔ ประเภทหน่วยบริการที่รับขึ้นทะเบียน มี ๔ ประเภท ได้แก่ ๑. หน่วยบริการประจำ ๒. หน่วยบริการปฐมภูมิ ๓. หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ ๔. หน่วยบริการร่วมให้บริการ

  6. คำนิยาม หน่วยบริการประจำ CUP หน่วยบริการประจำ(Contracting unit for primary)หมายถึง สถานบริการหรือกลุ่มสถานบริการที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการประจำ ซึ่งสามารถจัดบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตได้อย่างเป็นองค์รวม ทั้งการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสมรรถภาพ โดยต้องให้บริการด้านเวชกรรมด้วยตนเองและมีเครือข่ายหน่วยบริการเพื่อการส่งต่อผู้รับบริการไปรับการบริการสาธารณสุขในกรณีที่เกินขีดความสามารถ ซึ่งผู้มีสิทธิสามารถเลือกลงทะเบียนเป็นหน่วยบริการประจำของตน ทั้งนี้หน่วยบริการประจำมีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขในลักษณะเหมาจ่ายรายหัวและค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขอื่นจากกองทุนตามที่คณะกรรมการกำหนด

  7. นิยาม หน่วยบริการปฐมภูมิ PCU • หมายถึง สถานบริการที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่ายของหน่วยบริการประจำ ซึ่งสามารถให้บริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิด้านเวชกรรม หรือทันตกรรมขั้นพื้นฐานได้อย่างเป็นองค์รวม ทั้งการสร้าง เสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสมรรถภาพ โดยผู้มีสิทธิของหน่วยบริการประจำดังกล่าวสามารถใช้บริการสาธารณสุข ณ หน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่ายได้ ทั้งนี้หน่วยบริการปฐมภูมิมีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขจากหน่วยบริการประจำหรือจากกองทุนตามที่คณะกรรมการกำหนด

  8. ประเภทของหน่วยบริการ 3. หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ - สามารถจัดบริการระดับทุติยภูมิ ตติยภูมิ หรือเฉพาะทาง - ใช้บริการได้ก็ต่อเมื่อได้รับการส่งต่อ หรือได้รับความเห็นชอบ จากหน่วยบริการประจำ หรือตามที่ สปสช. กำหนด - ได้รับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขจากหน่วยบริการประจำ หรือจากกองทุนฯ ตามที่คณะกรรมการหลักฯ กำหนด - เช่น รพช., รพท., รพศ., หรือ รพ.เอกชน

  9. คลินิกชุมชนอบอุ่น • จะต้องประเมินทั้งเกณฑ์ประเมินหน่วยบริการประจำ • และหน่วยบริการปฐมภูมิ • ให้บริการแบบผู้ป่วยนอก (OP)และส่งเสริมสุขภาพในหน่วย บริการ • ต้องมีการจัดเครือข่ายบริการ กับหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ ให้ประชาชนเลือกลงทะเบียน • ในกรณีที่เกินขีดความสามารถให้ส่งต่อหน่วยบริการรับส่งต่อใน เครือข่ายที่ทำสัญญา • ผู้มีสิทธิต้องใช้บริการที่คลินิกชุมชนอบอุ่นก่อนเป็นอันดับแรก • ยกเว้น กรณีอุบัติเหตุหรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน

  10. ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการขั้นตอนการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ สมัครใหม่ / เปลี่ยนสถานะ /ยกเลิก /ยืนยันสถานะ ตรวจประเมิน หน่วยบริการ ประกาศรับขึ้นทะเบียน ทำสัญญา / ข้อตกลง ปรับปรุงบัญชี เครือข่ายหน่วยบริการ

  11. ข้อบังคับ สปสช.ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข การขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการและเครือข่ายบริการ พ.ศ. ๒๕๔๗ ข้อ ๑๐ ให้สำนักงานหรือสำนักงานสาขา ตรวจประเมินหน่วยบริการ ตามเกณฑ์การขึ้นทะเบียน..... อย่างน้อยปีงบประมาณละ ๑ ครั้ง

  12. เกณฑ์การให้คะแนนในแต่ละข้อเกณฑ์การให้คะแนนในแต่ละข้อ • 2= มี/ดำเนินการได้ครบถ้วนตามเกณฑ์หรือดีกว่าเกณฑ์ที่กำหนด • 1= มี/ดำเนินการแต่ไม่ครบถ้วนตามเกณฑ์ แต่อนุโลมให้ผ่านโดยมีแผนพัฒนาในช่วงเวลาที่กำหนด • 0= ไม่มี/ไม่ได้ดำเนินการ/ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ • 8=ไม่สามารถประเมินได้

  13. หน่วยบริการประจำ เกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

  14. เกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการประจำเกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการประจำ พิจารณา 4 ด้าน • ศักยภาพในการจัดระบบบริการ • การจัดระบบบริการ • บุคลากร • การบริหารจัดการ

  15. หน่วยบริการรับส่งต่อ หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ เกณฑ์การขึ้นขึ้นทะเบียนหน่วยบริการประจำ 1.ศักยภาพในการจัดระบบบริการ • เป็นแกนกลางในการจัดเครือข่ายหน่วยบริการ • มีหน่วยบริการปฐมภูมิที่ให้บริการด้วยตนเอง • กรณีมีผู้มีสิทธิ์มากกว่า 10,000 คนต้องจัดหน่วยบริการปฐมภูมิที่ผู้มีสิทธิ์ UC สามารถเดินทางเข้าถึงสะดวก (1 หน่วย ต่อผู้มีสิทธิ UC ไม่เกิน 10,000 คน) ประชากร 10,000 คน

  16. หน่วยบริการรับส่งต่อ หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการปฐมภูมิ กรณีมีผู้มีสิทธิ์มากกว่า 10,000 คนต้องจัดหน่วยบริการปฐมภูมิให้ผู้มีสิทธิ์ UC สามารถเดินทางเข้าถึงสะดวก (1 หน่วย ต่อผู้มีสิทธิ UC ไม่เกิน 10,000 คน) สมมุติว่า อำเภอ ก.มีประชากร 50,000 คน ทำหน้าที่ ในการจัด ให้มีหน่วยบริการปฐมภูมิ ประชากร 10,000 คน ประชากร 10,000 คน ประชากร 10,000 คน ประชากร 10,000 คน ประชากร 10,000 คน

  17. หน่วยบริการประจำ ประชากร 10,000 คน หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการปฐมภูมิ ประชากร 10,000 คน ประชากร 10,000 คน ประชากร 10,000 คน ประชากร 10,000 คน เกณฑ์การขึ้นขึ้นทะเบียนหน่วยบริการประจำ 2.การจัดระบบบริการ • บริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันการเจ็บป่วย • บริการตรวจรักษาโรคและรักษาพยาบาล • บริการทันตกรรม • บริการเยี่ยมบ้าน/บริการเชิงรุก • บริการตรวจทางห้องปฏิบัติการ • บริการเภสัชกรรม

  18. หน่วยบริการประจำ เกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการประจำ 3.การจัดบุคลากร คิดจากบุคลากรที่ปฏิบัติงานรวมจากทุกหน่วยปฐมภูมิ (ยกเว้นในหน่วยรับส่งต่อ) เทียบกับจำนวนประชากรรวมทั้งอำเภอ

  19. หน่วยบริการประจำ เกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการประจำ 3.การจัดบุคลากร คิดจากบุคลากรที่ปฏิบัติงานรวมจากทุกหน่วยปฐมภูมิ (ยกเว้นในหน่วยรับส่งต่อ) เทียบกับจำนวนประชากรรวมทั้งอำเภอ

  20. หน่วยบริการรับส่งต่อ หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการประจำ ประชากร 10,000 คน เกณฑ์การขึ้นขึ้นทะเบียนหน่วยบริการประจำ 4.การบริหารจัดการ 4.1 มีผู้จัดการ/คณะทำงาน (Cup board) 4.2 มีพันธกิจ เป้าหมาย แผนงาน 4.3 จัดระบบการสนับสนุนหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่าย 4.4 จัดเครือข่ายเพื่อการส่งต่อ

  21. หน่วยบริการประจำ ประชากร 10,000 คน หน่วยบริการปฐมภูมิ เกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการประจำ 4.3 จัดระบบการสนับสนุนหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่าย • สถานที่ บุคลากร ยาและเวชภัณฑ์ วัสดุอุปกรณ์ ฯลฯ • ระบบติดต่อสื่อสาร • ระบบติดตาม ประเมินผล • การพัฒนาความรู้ บุคลากร • ระบบข้อมูล และสารสนเทศ • ระบบการพัฒนาคุณภาพบริการ

  22. หน่วยบริการรับส่งต่อ หน่วยบริการประจำ ประชากร 10,000 คน หน่วยบริการปฐมภูมิ สถานะของสถานบริการที่ไม่เป็นโรงพยาบาล (คลินิก/ศูนย์บริการ) ในการจัดตามประเภทของหน่วยบริการในระบบ UC ในพื้นที่ที่มีประชากร <10,000 คน รพ.ชุมแสง เช่น คลินิกชุมชนอบอุ่นเทศบาลเมืองชุมแสง

  23. หน่วยบริการประจำ หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการปฐมภูมิ สถานะของสถานบริการที่ไม่เป็นโรงพยาบาล (คลินิก/ศูนย์บริการ) ในการจัดตามประเภทของหน่วยบริการในระบบ UC หน่วยบริการรับส่งต่อ ในพื้นที่ ที่มีประชากร > 10,000 คน เช่น 50,000 คน ประชากร 10,000 คน ประชากร 10,000 คน ประชากร 10,000 คน ประชากร 10,000 คน ประชากร 10,000 คน

  24. หน่วยบริการปฐมภูมิ เกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

  25. ประเภทหน่วยบริการปฐมภูมิ ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 1. หน่วยบริการปฐมภูมิเดี่ยว (ใน และ นอกรพ.) • 2. หน่วยบริการปฐมภูมิกลุ่ม (มี สอ.มากกว่า1) • ต้องมีการบริหารจัดการ ทำแผนร่วมกัน • จัดบริการร่วมกัน และมีการเชื่อมโยงกัน • โดยมี สอ. 1 แห่งทำหน้าที่หัวหน้ากลุ่ม( PCUหลัก) หน่วยบริการปฐมภูมิในโรงพยาบาล ประชากร 10,000 คน ประชากร 10,000 คน ประชากร 10,000 คน ประชากร 10,000 คน ประชากร 10,000 คน กลุ่มหน่วยบริการปฐมภูมิ กลุ่มหน่วยบริการปฐมภูมิ กลุ่มหน่วยบริการปฐมภูมิ ปฐมภูมิเดี่ยว

  26. ประชากร 10,000 คน ประชากร 10,000 คน เกณฑ์ตรวจประเมินขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิ มี 5 เกณฑ์ • ศักยภาพในการจัดระบบบริการ • การจัดระบบบริการ • บุคลากร • การบริหารจัดการ • สถานที่ อุปกรณ์ และเครื่องมือที่จำเป็น หน่วยบริการปฐมภูมิเดี่ยว กลุ่มหน่วยบริการปฐมภูมิ

  27. ประชากร 10,000 คน ประชากร 10,000 คน เกณฑ์ตรวจประเมินขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิ 1. ศักยภาพในการจัดระบบบริการ • การเข้าถึงบริการของผู้มีสิทธิ์ • สถานที่ตั้ง การกระจาย (ไม่เกิน 30 นาที โดยรถยนต์) • ขนาดของหน่วยบริการ • เวลาในการเปิดให้บริการ (ทุกวัน 56ชั่วโมงต่อสัปดาห์) หน่วยบริการปฐมภูมิเดี่ยว กลุ่มหน่วยบริการปฐมภูมิ

  28. ประชากร 10,000 คน ประชากร 10,000 คน เกณฑ์ตรวจประเมินขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิ 2.การจัดระบบบริการ (ต้องมี) • บริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันการเจ็บป่วย • บริการตรวจรักษาโรคและรักษาพยาบาล • บริการทันตกรรม • บริการเยี่ยมบ้าน/บริการเชิงรุก • บริการตรวจทางห้องปฏิบัติการ • บริการเภสัชกรรม หน่วยบริการปฐมภูมิเดี่ยว กลุ่มหน่วยบริการปฐมภูมิ

  29. เกณฑ์ตรวจประเมินขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิเกณฑ์ตรวจประเมินขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิ 3.บุคลากร คิดจากบุคลากรที่มาปฏิบัติงานในแต่ละ หน่วยบริการปฐมภูมิ หรือ กลุ่มหน่วยบริการปฐมภูมิ

  30. เกณฑ์ตรวจประเมินขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิเกณฑ์ตรวจประเมินขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิ 3.บุคลากร คิดจากบุคลากรที่มาปฏิบัติงานในแต่ละ หน่วยบริการปฐมภูมิ หรือ กลุ่มหน่วยบริการปฐมภูมิ

  31. ประชากร 10,000 คน ประชากร 10,000 คน เกณฑ์ตรวจประเมินขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิ 4. การบริหารจัดการ • มีผู้จัดการ/คณะทำงาน • มีแผนงาน ที่สอดคล้องกับหน่วยบริการประจำ / ปัญหาของพื้นที่ • ระบบติดต่อสื่อสาร • ระบบข้อมูลและสารสนเทศ • การพัฒนาคุณภาพบริการเช่น PCA หน่วยบริการปฐมภูมิเดี่ยว กลุ่มหน่วยบริการปฐมภูมิ

  32. ประชากร 10,000 คน ประชากร 10,000 คน เกณฑ์ตรวจประเมินขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิ 5.สถานที่ อุปกรณ์ และเครื่องมือที่จำเป็น • การจัดสถานที่เป็นสัดส่วน สะอาด ปลอดภัย • อุปกรณ์ ยา/เวชภัณฑ์ และเครื่องมือที่จำเป็น (ผนวก) • เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ตรวจวินิจฉัย และรักษาพยาบาล • ทันตกรรม • เภสัชกรรม • เทคนิคการแพทย์ • กายภาพบำบัด • แพทย์แผนไทย /แพทย์แผนไทยประยุกต์ หน่วยบริการปฐมภูมิเดี่ยว กลุ่มหน่วยบริการปฐมภูมิ

  33. หน่วยบริการที่รับการส่งต่อหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ • พรบ.สถานพยาบาล พ.ศ. 2541 และแนวทางการตรวจมาตรฐานการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล ในสถานพยาบาลประเภทรับผู้ป่วยไว้ 10 สาขา • ประกาศสำนักงานประกันสังคม เรื่อง กำหนดมาตรฐานสถานพยาบาลที่ให้บริการทางการแพทย์แก่ผู้ประกันตน • มาตรฐานบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ พ.ศ. 2548 ของกระทรวงสาธารณสุข • แผนแม่บทกำลังคนด้านสาธารณสุข(ตามสภาพภูมิศาสตร์) • ข้อมูลสถิติด้านสาธารณสุขและผลการดำเนินงานการให้บริการสาธารณสุข พ.ศ.2547 • ข้อมูลบุคลากรแพทย์เฉพาะทางของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2547 • มาตรฐานการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ของสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (พรพ)

  34. เกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ • ศักยภาพการบริการ • ด้านลักษณะสำคัญของการจัดบริการ • ด้านอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย • ด้านการจัดการทรัพยากรบุคคล • ด้านอุปกรณ์เครื่องมือยาและเวชภัณฑ์ เน้นผู้ป่วยฉุกเฉิน • ด้านการบริหารจัดการและจัดการคุณภาพ

  35. เกณฑ์การตรวจหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเกณฑ์การตรวจหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ หมวด 1 ศักยภาพในการรับการส่งต่อ • เตียงรับผู้ป่วยใน:ประชากร UC(1:1000) • เตียงรับผู้ป่วยฉุกเฉินในสภาพพร้อมใช้>3เตียง • มีห้องผ่าตัด 1:50 เตียง • 100 เตียง ขึ้นไปต้องมีหอผู้ป่วยหนัก 1:50 เตียง

  36. เกณฑ์การตรวจหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเกณฑ์การตรวจหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ หมวด 2 การจัดการทรัพยากรบุคคล • ผู้ประกอบวิชาชีพทุกคนต้องมีใบประกอบวิชาชีพ • สามารถจัดบุคลากรขึ้นเวรในลักษณะเวรผลัดได้ตลอด 24 ชม. • มีแพทย์ประจำหน่วยบริการ 1:15,000 • พยาบาลวิชาชีพ ตามมาตรฐานสภาการพยาบาล • ความรู้ความสามารถของพยาบาลวิชาชีพ • เภสัชกร 1:60 เตียง • นักเทคนิคการแพทย์ 1:60 เตียง • รพ. 100 เตียงขึ้นไปต้องมีแพทย์ สู ศัลย์ อายุกรรม เด็ก • รพ.100 เตียงขึ้นไป ต้องมีทันตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ • มีการพัฒนาทรัพยากรบุคคล

  37. เกณฑ์การตรวจหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเกณฑ์การตรวจหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ หมวด 3 การบริหารจัดการในองค์กร • วิสัยทัศน์ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ • โครงสร้างองค์กร • แผนงานโครงการ • กำหนดผู้รับผิดชอบงานด้านประกันสุขภาพถ้วนหน้า • ระบบรายงานทางการเงิน • มีเครื่องมืออุปกรณ์ด้านสารสนเทศ • มีระบบข้อมูลสารสนเทศภายใน

  38. เกณฑ์การตรวจหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเกณฑ์การตรวจหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ หมวด 4 การจัดระบบการให้บริการ • มีการจัดขั้นตอนการให้บริการและระยะเวลาการรอคอย • มีระบบนัดหมาย • ระบบการสื่อสาร • มีอุปกรณ์ และวิธีปฏิบัติเพื่อประชาสัมพันธ์ภายในหน่วยบริการ และภายในเครือข่ายบริการ • ระบบการรับ การส่งต่อ และรับกลับ • มีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน • มีการแจ้งผลการรักษา • หากเกินขีดความสามารถต้องส่งคนไข้ไปรักษาต่อ • มีระบบการดูแลต่อเนื่อง

  39. เกณฑ์การตรวจหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเกณฑ์การตรวจหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ หมวด 4 การจัดระบบการให้บริการ • ระบบเวชระเบียน • สถานที่ และอุปกรณ์ • เจ้าหน้าที่เวชสถิติ • การบันทึกเวชระเบียน • การบริการเวชระเบียนตลอด 24 ชั่วโมง • การจัดทำรายงานจากสถิติ

  40. เกณฑ์การตรวจหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเกณฑ์การตรวจหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ หมวด 4 การจัดระบบการให้บริการ • ระบบการคุ้มครองสิทธิ์ • แนวทางปฏิบัติ • ผู้ใช้บริการทราบชื่อแพทย์ในทุกหน่วยงาน • ผู้ใช้บริการรับทราบข้อมูลการเจ็บป่วย การรักษา ค่าใช้จ่าย • ช่องทางการแสดงความคิดเห็นหรือร้องเรียนการรับบริการ

  41. เกณฑ์การตรวจหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเกณฑ์การตรวจหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ หมวด 5 การกำกับและพัฒนาคุณภาพ • การนำระบบคุณภาพมาดำเนินการพัฒนาทั้งด้านทรัพยากรและการบริการอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ • การพัฒนาคุณภาพด้วยระบบบริหารคุณภาพ • คู่มือแนวทางปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย ในโรคที่พบบ่อย • การบริหารความเสี่ยง • คณะทำงาน • การค้นหาและป้องกันความเสี่ยง

  42. เกณฑ์การตรวจหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเกณฑ์การตรวจหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ หมวด 5 การกำกับและพัฒนาคุณภาพ • การควบคุมการติดเชื้อในสถานพยาบาล • โครงสร้างการบริหารงานและทรัพยากร • กำหนดแนวทางและมีการปฏิบัติในการขจัดควบคุม หรือป้องกันการติดเชื้อเป็นลายลักษณ์อักษร • ระบบรายงานการติดเชื้อ • ระบบการตรวจสอบด้านเวชระเบียนและรายานผล • มีการจัดประชุมวิชาการ • การกำกับคุณภาพที่ชัดเจนและสม่ำเสมอ

  43. เกณฑ์การตรวจหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเกณฑ์การตรวจหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ หมวด 6 อาคาร สถานที่ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย • อาคารสถานที่เป็นไปตามกฎหมาย • การอำนวยความสะดวกและการส่งเสริมความปลอดภัย • ความสะอาด • ความปลอดภัยด้านอัคคีภัยและภัยธรรมชาติ • ระบบสาธารณูปโภค และระบบสำรอง • การกำจัดของเสีย

  44. เกณฑ์การตรวจหน่วยบริการที่รับการส่งต่อเกณฑ์การตรวจหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ การตรวจรายแผนก OPD ER IPD ห้องคลอด ห้องผ่าตัด ทันตกรรม เภสัชกรรม lab Xray ICU

  45. ปรางวไล เหล่าชัย 090-1975192 • 032-332590 สปสช.เขต • ID line : mod5324

More Related