1 / 65

การจัดตั้งศูนย์ประสานการทดสอบสินค้าเพื่อผู้บริโภค

การจัดตั้งศูนย์ประสานการทดสอบสินค้าเพื่อผู้บริโภค. สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.). สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. บริษัทสาระกรุ๊ป จำกัด. การศึกษาเพื่อจัดทำแนวทางการตั้งศูนย์ประสานการทดสอบ. มีหน้าที่ในการ. ปัจจุบันคือยังขาดหน่วยงานที่ทำหน้าที่โดยตรง หรือ

Download Presentation

การจัดตั้งศูนย์ประสานการทดสอบสินค้าเพื่อผู้บริโภค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดตั้งศูนย์ประสานการทดสอบสินค้าเพื่อผู้บริโภคการจัดตั้งศูนย์ประสานการทดสอบสินค้าเพื่อผู้บริโภค

  2. สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บริษัทสาระกรุ๊ป จำกัด การศึกษาเพื่อจัดทำแนวทางการตั้งศูนย์ประสานการทดสอบ

  3. มีหน้าที่ในการ ปัจจุบันคือยังขาดหน่วยงานที่ทำหน้าที่โดยตรง หรือ เป็นตัวประสานงานในการทดสอบ หรือ พิสูจน์สินค้าหรือบริการต่างๆที่ผู้บริโภคร้องเรียน สำนักงานคณะกรรมการ คุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) กำหนดนโยบาย หรือ กำหนดแนวทาง ในการคุ้มครองผู้บริโภค จากการใช้ผลิตภัณฑ์รวมทั้ง บริการต่างๆ

  4. รวมทั้งข้อกฎหมายและอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะทำให้สามารถจัดตั้งศูนย์ได้ และสามารถปฏิบัติหน้าที่ให้สอดคล้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค • มีการศึกษาแนวทางในการจัดตั้งศูนย์เพื่อให้ทราบบทบาท หน้าที่ โครงสร้างองค์กร • รวมทั้งแผนดำเนินการของศูนย์ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

  5. เสนอให้ สคบ. CPSC (Consumer Product Safety Commission) ของประเทศสหรัฐอเมริกา คกก. ตรวจสอบระบบการดูแลความปลอดภัยของเล่นสำหรับเด็ก ศึกษาแนวทางการจัดตั้งหน่วยงาน สุ่มตรวจสินค้าอุปโภคบริโภค เพื่อความปลอดภัย ที่มีลักษณะคล้ายกับหน่วยงาน

  6. การออกสุ่มตรวจตัวอย่างสินค้าการออกสุ่มตรวจตัวอย่างสินค้า แหล่งผลิต/แหล่งจำหน่าย ก.พ. สนับสนุนให้มีการจัดตั้งหน่วยงานสุ่มตรวจสินค้าอุปโภคบริโภค เพื่อความปลอดภัย ประสานเชื่อมโยงกับส่วนราชการ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างระบบการตรวจสอบการวิเคราะห์ความปลอดภัยในลักษณะการทำงานที่เป็นเครือข่าย (ความเห็นของสำนักงาน ก.พ. เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2550)

  7. ที่มีหน้าที่ ในการวิเคราะห์สินค้า ที่ไม่ปลอดภัย ที่เป็นอิสระในทางวิชาการ องค์กร • เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2550 สคบ. ได้จัดตั้งศูนย์ประสานการทดสอบสินค้า ขึ้นเป็นหน่วยงานราชการภายใน • การประชุมพิจารณาร่าง พรบ. ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้น • จากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551 • สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ซึ่งมีคุณหญิงทิพาวดี เมฆสวรรค์ • (ในฐานะประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญ) เสนอให้ คกก. คุ้มครองผู้บริโภค ให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา 1 ปี

  8. กฏหมายที่เกี่ยวข้อง • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 • พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522/2541 • พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้า • ที่ไม่ปลอดภัยพ.ศ. 2551 • พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาความผู้บริโภค พ.ศ. 2551

  9. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ในบทเฉพาะกาล มาตรา 303 วรรคหนึ่ง กำหนดให้มีการจัดทำหรือ ปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์การเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นอิสระตาม มาตรา 61 ภายในหนึ่งปีนับจากวันที่แถลงนโยบายต่อรัฐสภา กฏหมายที่เกี่ยวข้อง มาตรา 61 : กำหนดให้มีการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภคและกำหนด ให้มีองค์การเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นอิสระจาก หน่วยงานของรัฐ

  10. พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522/2541 กฏหมายที่เกี่ยวข้อง มาตรา 4 (3) : ได้กำหนดว่าผู้บริโภคมีสิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยในสินค้าหรือบริการ มาตรา 5 (1) : กำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจตรวจ และเก็บสินค้าในปริมาณ พอสมควรไปเป็นตัวอย่างเพื่อทำการทดสอบโดยไม่ต้องชำระราคาสินค้า มาตรา 10 (2) : กำหนดให้คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมีอำนาจหน้าที่ ในการดำเนินการเกี่ยวกับสินค้าที่อาจเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภค ตาม มาตรา 36

  11. พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 กฏหมายที่เกี่ยวข้อง มาตรา 36 วรรค 1 : ให้อำนาจคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค มีคำสั่งให้ผู้ประกอบการ ดำเนินการทดสอบ หรือพิสูจน์สินค้า ที่อาจเป็นอันตราย หรือ จัดให้มีการดำเนินการทดสอบหรือพิสูจน์สินค้าที่อาจเป็นอันตราย โดยผู้ประกอบธุรกิจเป็นผู้เสียค่าใช้จ่าย มาตรา 36 วรรค 2 : ให้อำนาจคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค มีอำนาจในการออก คำสั่งห้ามขายสินค้าเป็นการชั่วคราวจนกว่าจะได้มีการทดสอบ หรือพิสูจน์สินค้าที่อาจเป็นอันตราย มาตรา 20 (2) : ให้สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมีอำนาจและหน้าที่ จัดให้มีการทดสอบ หรือพิสูจน์สินค้าหรือบริการใด ตามที่เห็น สมควรและจำเป็นเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค

  12. พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าพระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้า ที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551 กฏหมายที่เกี่ยวข้อง มาตรา 4 : ได้กำหนดนิยามคำว่า “สินค้าที่ไม่ปลอดภัย” ไว้ว่า “สินค้าที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายขึ้นได้ไม่ว่าจะเป็นเพราะเหตุจากความบกพร่อง ในการผลิตหรือการออกแบบ หรือ ไม่ได้กำหนดวิธีใช้ วิธีเก็บรักษา คำเตือน หรือ ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า หรือ กำหนดไว้แต่ไม่ถูกต้อง หรือไม่ชัดเจน ตามสมควร ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงสภาพของสินค้า รวมทั้งลักษณะการใช้งาน และ การเก็บรักษาตามปกติธรรมดาของสินค้าอันพึงคาดหมายได้”

  13. พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าพระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้า ที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551 กฏหมายที่เกี่ยวข้อง มาตรา 6 ประกอบ มาตรา 10 กำหนดให้คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค มีอำนาจฟ้องคดีแทนผู้เสียหายโดยต้องพิสูจน์ว่า ผู้เสียหายได้รับความเสียหายจากสินค้าของผู้ประกอบการ

  14. พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาความผู้บริโภค พ.ศ. 2551 กฏหมายที่เกี่ยวข้อง มาตรา 19 : รับรองหลักการในเรื่องการให้ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคมีอำนาจ ฟ้องคดีคุ้มครองผู้บริโภคแทนผู้เสียหาย

  15. การสำรวจเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคในต่างประเทศการสำรวจเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคในต่างประเทศ • ทีมงานโครงการได้ทำการสำรวจข้อมูลของศูนย์ที่เกี่ยวข้องกับการทดสอบสินค้าหรือการคุ้มครองผู้บริโภคหรือศูนย์ฯที่มีลักษณะคล้ายกันจากประเทศต่าง ๆ จำนวน 6 ประเทศ คือ • ญี่ปุ่น • สหรัฐอเมริกา • เยอรมนี • ฟินแลนด์ • ออสเตรเลีย • นิวซีแลนด์

  16. ผลการสำรวจเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคในต่างประเทศผลการสำรวจเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคในต่างประเทศ จากผลการศึกษาพบว่าในทั้ง 6 ประเทศนั้น มีลักษณะของหน่วยงานและบทบาทหลักที่เหมือนกันอยู่ 5 ประเภท ดังต่อไปนี้ • ศูนย์ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อผู้บริโภค • ศูนย์ทดสอบสินค้า • ศูนย์วิจัยและพัฒนา • หน่วยงานรับเรื่องร้องเรียน • หน่วยงานการให้คำปรึกษาแก่ผู้บริโภค

  17. การสำรวจบทบาท หน้าที่ และกิจกรรมของหน่วยงานคุ้มครองผู้บริโภคในประเทศไทย 1.สำรวจจากข้อมูลใน Website ของหน่วยงาน 2. สำรวจด้วยการสัมภาษณ์เจาะลึกผู้บริหาร หน่วยงาน 17

  18. หน่วยงานต่างๆที่เข้าสัมภาษณ์หน่วยงานต่างๆที่เข้าสัมภาษณ์ 18

  19. จุดประสงค์ของการสำรวจจุดประสงค์ของการสำรวจ • เพื่อเข้าใจบทบาท หน้าที่ และกิจกรรมของหน่วยงานต่างๆที่มีอยู่ในปัจจุบัน • เพื่อวิเคราะห์หาบทบาทหน้าที่และกิจกรรมที่ซ้ำซ้อนกัน • เพื่อวิเคราะห์หาบทบาทหน้าที่และกิจกรรมที่เป็นช่องโหว่หรือขาดหายไป • เพื่อออกแบบ พันธกิจ บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบ รูปแบบของกิจกรรมที่เหมาะสม

  20. หน่วยงานในปัจจุบันที่มีบทบาทในการคุ้มครองผู้บริโภค (1) • สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) • กระทรวงอุตสาหกรรม • สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) • สถาบันยานยนต์ • สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ • สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ • สถาบันอาหาร • กระทรวงสาธารณสุข • สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) • กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

  21. หน่วยงานในปัจจุบันที่มีบทบาทในการคุ้มครองผู้บริโภค (2) • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) • กรมวิชาการเกษตร • กรมประมง • กรมปศุสัตว์ • กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ • สถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม (สบท.) • กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • กรมวิทยาศาสตร์บริการ • ศูนย์ทดสอบผลิตภัณฑ์ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ 21

  22. สรุปประเด็นสำคัญที่ได้จากการสำรวจสรุปประเด็นสำคัญที่ได้จากการสำรวจ ประเด็นการจัดตั้งศูนย์ทดสอบสินค้า • ในมุมมองของศาลเห็นด้วยเป็นอย่างมากที่ทาง สคบ. จะจัดตั้งศูนย์ฯ ขึ้นมาเพื่อที่จะเป็นหน่วยงานกลางใน การที่จะประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ เพราะใน ปัจจุบันนี้ยังไม่มีหน่วยงานประเภทนี้ • หลายหน่วยงานไม่สนับสนุนให้มีการจัดตั้งศูนย์ที่มี ลักษณะที่มีห้องปฏิบัติการและทำการทดสอบทุกขั้นตอน เองเนื่องจากจะต้องมีการลงทุนที่สูงมาก

  23. สรุปประเด็นสำคัญที่ได้จากการสำรวจสรุปประเด็นสำคัญที่ได้จากการสำรวจ แนวทางการทดสอบผลิตภัณฑ์ควรจะประกอบไปด้วย การทดสอบเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงโดยที่มีมาจากการร้องเรียนของผู้บริโภคที่ได้รับความเสียหายจากการใช้สินค้า การทดสอบเพื่อเปรียบเทียบสินค้าเพื่อเป็นข้อมูลที่จะช่วยให้ผู้บริโภคเลือกซื้อสินค้าได้อย่างเหมาะสมและเป็นธรรม 2. ประเด็นการทดสอบผลิตภัณฑ์ • ผลของการทดสอบควรจะต้องมีการนำเสนอต่อ คณะกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อพิจารณาความ เหมาะสมก่อนจะนำเสนอผลทดสอบต่อสาธารณะ • การทดสอบผลิตภัณฑ์ควรจะต้องดำเนินการควบคู่ไปกับ การประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ผู้บริโภคโดยส่วนรวมได้ รับทราบ

  24. สรุปประเด็นสำคัญที่ได้จากการสำรวจสรุปประเด็นสำคัญที่ได้จากการสำรวจ ประเด็นการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคต่อสินค้าที่ไม่ปลอดภัยกับ สคบ. • สคบ. ต้องระวังที่จะไปก้าวก่ายหน้าที่ของหน่วยงานอื่น ที่มีอำนาจหน้าที่โดยตรง • สคบ. ควรทำหน้าที่เชิงรุก เป็นผู้นำในการประเมินความ เสี่ยงของสินค้าที่ทำให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภค (Risk Assessment) โดยเฉพาะสินค้าที่ยังไม่มี มาตรฐานบังคับ และเป็นช่องโหว่ของกฎหมายอยู่

  25. สรุปประเด็นสำคัญที่ได้จากการสำรวจสรุปประเด็นสำคัญที่ได้จากการสำรวจ ประเด็นการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภคต่อสินค้าที่ไม่ปลอดภัยกับ สคบ. (ต่อ) • สคบ. ควรทำหน้าที่ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาจจะมีฐานข้อมูลของห้องปฏิบัติการที่สามารถทำ การตรวจสอบสินค้าชนิดต่างๆ ได้ เพื่อความรวดเร็ว ในการส่งเรื่องเพื่อการพิสูจน์ทราบ • ต้องมีเครื่องมือต่างๆ จำนวนหนึ่งในการตรวจสอบที่ จำเป็น มิฉะนั้นงานเหล่านี้จะมีความล่าช้า

  26. สรุปประเด็นสำคัญที่ได้จากการสำรวจสรุปประเด็นสำคัญที่ได้จากการสำรวจ ประเด็นมาตรฐานที่ซ้ำซ้อน ในปัจจุบัน Certification Body (CB) หลักๆ ที่ใช้และบังคับใช้มีอยู่ คือ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก) ซึ่งออกโดยสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม อย. ซึ่งออกโดย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) ซึ่งออกโดยสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ • พบว่ามาตรฐานของสินค้าบางอย่างจะมีความซ้ำซ้อนกันบ้างโดยเฉพาะ ด้านอาหาร แต่ก็ได้มีการทำความเข้ากันในระหว่างหน่วยงาน และ ได้มีการเชิญบุคลากรจากหน่วยงานต่างๆ เข้าร่วมประชุม เมื่อจะมี การกำหนดมาตรฐานต่างๆ เพื่อหลีกเลี่ยงความซ้ำซ้อน แต่อาจจะมีการ อ้างอิงมาตรฐาน และมีการต่อยอดกันได้ เช่น ข้อกำหนดของ อย. เป็นข้อกำหนดขั้นพื้นฐาน (Minimum Requirement) ส่วนทาง สมอ. อาจจะมีข้อกำหนดอื่นๆ เพิ่มเติมเมื่อต้องการมาตรฐานอุตสาหกรรมที่ สูงขึ้น

  27. สรุปประเด็นสำคัญที่ได้จากการสำรวจสรุปประเด็นสำคัญที่ได้จากการสำรวจ ประเด็นความรับผิดชอบต่อสินค้าชนิดต่างๆ • หน่วยงานต่างๆที่มีหน้าที่กำหนดมาตรฐานสินค้าจะมี พรบ. รองรับ เช่น • ผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารและยา ก็จะมี พรบ. อาหารและยา ซึ่ง • สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาเป็นผู้บังคับใช้ • ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมก็จะมี พรบ. มาตรฐานอุตสาหกรรม ซึ่ง • สำนักงานและมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเป็นผู้บังคับใช้ • ผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตรและอาหารก็จะมี พรบ. มาตรฐานสินค้า • เกษตรและอาหาร ซึ่งสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร • แห่งชาติ เป็นผู้บังคับใช้ • ฉะนั้นเมื่อจะมีการตรวจสอบหรือกระบวนการแจ้งเตือน พักใช้ เพิกถอนต่อสินค้ากลุ่มต่างๆ ควรเป็นหน้าที่ของหน่วยงานหลักที่มีหน้าที่ต่อสินค้าชนิดนั้นโดยตรง ซึ่งหน่วยงานเหล่านี้จะมีกระบวนการตรวจสอบ ทดสอบการกำกับดูแล และออกใบอนุญาตที่เป็นระบบอยู่แล้ว

  28. สรุปประเด็นสำคัญที่ได้จากการสำรวจสรุปประเด็นสำคัญที่ได้จากการสำรวจ 6. ประเด็นความร่วมมือระหว่าง สคบ. กับหน่วยงานภาคประชาชน • ในปัจจุบัน สคบ. ได้มีความร่วมมือกับหน่วยงานภาคประชาชน • เช่น มูลนิธิเพื่อผู้บริโภคดีในระดับหนึ่ง • สคบ. ควรมีหน่วยงานที่สามารถให้คำแนะนำต่อผู้บริโภคทาง • ด้านการให้คำแนะนำการซื้อหรือการใช้สินค้า • ควรมีการให้งบประมาณต่อหน่วยงานภาคประชาชนต่างๆ • เช่น มูลนิธิที่ไม่หาผลกำไรเพื่อผู้บริโภค เพื่อให้สามารถทำงาน • เป็นปากเป็นเสียง และเผยแพร่ความรู้ที่มีประโยชน์ต่อผู้บริโภค • ทั่วไปได้มากขึ้นและกว้างขวางขึ้น

  29. การวิเคราะห์ SWOT ของการคุ้มครองผู้บริโภคในประเทศไทย

  30. จุดแข็ง (STRENGTHS) มีหลายหน่วยงานที่ทำหน้าที่คุ้มครองผู้บริโภค ภายใต้ขอบเขตความรับผิดชอบของตน หน่วยงานทุกหน่วยงานไม่เกี่ยงกันทำงาน แต่แสวงหาความรับผิดชอบมากขึ้นในการคุ้มครองผู้บริโภค มีหน่วยงานหลายหน่วยงาน ทำหน้าที่กำหนดมาตรฐานสินค้า และบริการซึ่งคำนึงถึงความปลอดภัย และความคุ้มค่าของผู้บริโภค หน่วยงานในประเทศไทยมีห้องปฏิบัติการที่มีความสามารถตรวจสอบสินค้าได้ค่อนข้างครอบคลุม มีหลายหน่วยงานทำการสุ่มตรวจสินค้า เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค

  31. จุดอ่อน (WEAKNESSES) พบทั้งความซ้ำซ้อน และช่องโหว่ของบทบาทหน้าที่ของหลายหน่วยงาน ยังขาดหน่วยงานที่ให้คำปรึกษาแก่ผู้บริโภคในการเลือกซื้อสินค้าต่างๆ ยังขาดหน่วยงานหลักที่เป็นศูนย์กลางประสานการทดสอบซึ่งรวบรวมข้อมูลสินค้าทุกชนิดที่ไม่ปลอดภัย ลักษณะการใช้งานที่ทำให้เกิดอันตราย สถิติการเกิดอันตรายลักษณะต่างๆ และความเสียหายที่เกิดขึ้น การเผยแพร่สื่อสารข้อมูลสินค้าที่อาจเป็นอันตราย และการเลือกซื้อสินค้าที่เหมาะสมยังมีน้อยมาก

  32. จุดอ่อน (WEAKNESSES) การสุ่มตรวจสินค้าโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังทำได้ไม่ทั่วถึง เนื่องจากมีงบประมาณและทรัพยากรไม่เพียงพอ มาตรฐานสินค้าที่กำหนดส่วนมากไม่ใช่มาตรฐานบังคับ สินค้าจึงไม่จำเป็นต้องมีคุณภาพตรงตามมาตรฐาน คนไทยไม่ชอบร้องเรียนอย่างเป็นทางการ โดยเฉพาะการฟ้องร้องต่อศาล

  33. โอกาส (OPPORTUNITIES) มีข้อมูลอ้างอิงจากต่างประเทศในเรื่องความไม่ปลอดภัยของสินค้า และลักษณะการใช้งานที่เป็นอันตราย หน่วยงานคุ้มครองผู้บริโภคในต่างประเทศยินดีให้ความช่วยเหลือประเทศไทย ถ้าประเทศไทยประ สานงานขอความช่วยเหลือ ผู้บริโภคเริ่มเข้าใจสิทธิของตนเองมากขึ้น และสน ใจในคุณภาพความปลอดภัยของสินค้ามากขึ้น PL Law ทำให้ผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าใส่ใจในความปลอดภัยของสินค้าและมากขึ้น โดยครอบคลุมสินค้าทุกชนิด

  34. อุปสรรค (THREATS) สินค้านำเข้าด้อยคุณภาพ ไม่ทราบผู้ผลิต ผู้จัดจำหน่าย ส่งเข้ามาขายในไทยจำนวนมาก ร้านค้าจำนวนมาก รวมทั้งห้างขนาดใหญ่ขายสินค้าที่อาจเป็นอันตราย และด้อยคุณภาพ ผู้บริโภครับทราบได้ยากมากในขณะซื้อว่าสินค้าจะเป็นอันตรายหรือไม่ มีโฆษณาจำนวนมากที่ทำให้ผู้บริโภคหลงเชื่อในคุณภาพของสินค้าที่ไม่เป็นจริง

  35. เหตุผลที่ควรจัดตั้งศูนย์เหตุผลที่ควรจัดตั้งศูนย์ • กำจัดจุดอ่อน • ศูนย์ฯ ทำหน้าที่ • - ประสานการทดสอบ • - รวบรวมข้อมูลสินค้าที่ไม่ปลอดภัย • - รวบรวมข้อมูลลักษณะการใช้งานที่เป็นอันตราย • - รวบรวมสถิติการเกิดอันตราย • - เผยแพร่ข้อมูลสินค้าอันตราย • ให้คำปรึกษาแก่ผู้บริโภคในการเลือกซื้อสินค้า • สุ่มตรวจสินค้าให้ทั่วถึงมากขึ้น • ช่วยศาลหาหลักฐาน ให้ความเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ • เป็นทางเลือกให้ผู้บริโภคในการร้องเรียน ถ้าผู้บริโภคไม่ต้องการฟ้องร้องต่อศาล • ใช้โอกาสให้เป็นประโยชน์ • ใช้ข้อมูลอ้างอิงจากต่างประเทศ เรื่องความไม่ปลอดภัยของสินค้า • ขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานในต่างประเทศ

  36. แนวทางในการดำเนินงานของศูนย์แนวทางในการดำเนินงานของศูนย์

  37. แจ้งจับผู้ผลิต/จำหน่ายสินค้า เจ้าหน้าที่ตำรวจ สคบ. เรียกร้องค่าเสียหายแทนผู้บริโภค จับกุม/ดำเนินคดี ผลการ ทดสอบสินค้า เรื่องร้องเรียนเพื่อพิสูจน์สินค้า ผู้ผลิต/จำหน่ายสินค้า ศูนย์ เก็บ ตย.สินค้าอันตราย ร้องเรียนสินค้าอันตราย สุ่มตรวจสินค้า กรณีเกิดอันตรายจากการใช้สินค้า ส่งสินค้า เพื่อทดสอบ ฟ้องศาลตาม PL Law ห้องปฏิบัติการทดสอบ ศาล ถามความเห็น ส่งเรื่องร้องเรียน นักวิชาการ นักวิจัย สมาคม/มูลนิธิทีเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค หน่วยงานภาครัฐอื่นๆ ที่ทำหน้าที่คุ้มครองผู้บริโภค (อย., สมอ. ฯลฯ) โรงพยาบาล สถานีตำรวจ ร้องเรียน 1. สัญญา 2. ฉลาก 3. สินค้าอันตราย 4. โฆษณาเกินจริง

  38. แนวทางการดำเนินงาน กรณีสุ่มตรวจ

  39. ผลสำรวจกลุ่มสินค้าที่ควรสุ่มตรวจผลสำรวจกลุ่มสินค้าที่ควรสุ่มตรวจ ศึกษาจากแบบสอบถามผู้บริโภคที่มาในงานวันคุ้มครองผู้บริโภคจำนวน 967 คน (หญิง 685 คน ชาย 282)

  40. ผลจากแบบสอบถามเกี่ยวกับกลุ่มผลิตภัณฑ์ ผลจากแบบสอบถามเกี่ยวกับกลุ่มผลิตภัณฑ์

  41. ข้อแนะนำที่ได้จากแบบสอบถาม ข้อแนะนำที่ได้จากแบบสอบถาม กลุ่มอาหารและเครื่องดื่ม • กลุ่มยาและเครื่องสำอาง

  42. ข้อแนะนำที่ได้จากแบบสำรวจ ข้อแนะนำที่ได้จากแบบสำรวจ กลุ่มไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ • กลุ่มผลิตภัณฑ์ซักล้างและทำความสะอาดร่างกาย

  43. รูปแบบของศูนย์- ระยะสั้น (1 – 3 ปี) - ระยะยาว

  44. รูปแบบของศูนย์ในระยะสั้นรูปแบบของศูนย์ในระยะสั้น • เป็นหน่วยงานภายใต้ สคบ. ในโครงสร้างระบบราชการปรกติ สคบ. ผู้อำนวยการศูนย์ฯ 1. ฝ่ายบริหารงานทั่วไป 2. ส่วนวิชาการและวิจัยพัฒนา 3. ส่วนประสานการทดสอบ 4. ส่วนบริการข้อมูลและสารสนเทศ

  45. กฎหมายการจัดตั้งองค์กร (ระยะสั้น) การออกกฎ ประกาศ คำสั่ง เพื่อรองรับการทำงานของศูนย์ฯ ประกาศกำหนดสินค้าที่เข้าข่ายต้องทำการทดสอบ ประกาศกำหนดหน่วยงานที่ทำหน้าที่ทดสอบ ประกาศกำหนดลักษณะวิธีการตรวจพิสูจน์สินค้าที่ไม่ปลอดภัย ประกาศกำหนดอัตราค่าใช้จ่ายในตรวจพิสูจน์ ประกาศกำหนดลักษณะรูปแบบของรายงานผลการทดสอบเพื่อเป็นพยานหลักฐานทางคดี การประสานหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อแก้ไขกฎหมายหรือกฎให้สอดคล้องกัน

  46. รูปแบบของศูนย์ในระยะยาวรูปแบบของศูนย์ในระยะยาว

  47. รูปแบบของศูนย์ในระยะยาวรูปแบบของศูนย์ในระยะยาว ปัญหาของศูนย์ฯเมื่ออยู่ภายใต้ สคบ. ในโครงสร้างปรกติ การบริหารงานไม่คล่องตัว ดำเนินงานได้ไม่รวดเร็วเท่าที่ควร ไม่เป็นนิติบุคคลจึงไม่สะดวกในการทำนิติกรรมและสัญญากับภาคเอกชน ไม่สะดวกในการตั้งเงินกองทุนรับประกันความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค ค่าตอบแทนบุคลากรต่ำ ไม่สามารถดึงดูดบุคลากรด้านเทคนิคได้ ดังนั้นทางเลือกคือ หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ (SDU= Service Delivery Unit) หรือ องค์การมหาชน

  48. หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ (SDU) SDU คือ หน่วยงานให้บริการภายในของระบบราชการ ที่มุ่งเน้นในเรื่องของประสิทธิภาพและคุณภาพของการ ดำเนินงาน การจัดตั้งเป็นไปตาม ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการบริหารงานของ หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ พ.ศ. 2550

  49. กำกับดูแล มอบอำนาจ หน่วยงาน แม่ SDU (ศูนย์รับผิดชอบ) รับผิดชอบผลงาน รายงานผลการดำเนินงาน ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานแม่และหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ

  50. การบริหารงานในรูปแบบ SDU • ดำเนินการในรูปของคณะกรรมการอำนวยการหรือคณะกรรมการบริหารที่ได้รับการแต่งตั้งจากหน่วยงานแม่ต้นสังกัดประมาณ 3-5 คน • อาจมีผู้แทนจากหน่วยงานต่างๆเข้าร่วมกันเป็นคณะกรรมการบริหารก็ได้ • มีผู้อำนวยการซึ่งผ่านการคัดเลือกตามเงื่อนไขที่กำหนดทำหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารงานให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของการจัดตั้งหน่วยงาน

More Related