1 / 13

บุคลิกภาพและตัวตนทางสังคม Personality & Social Self

บุคลิกภาพและตัวตนทางสังคม Personality & Social Self. รองศาสตราจารย์แสงสุรีย์ สำอางค์กูล. ความเบื้องต้น. บทนี้จะให้ความรู้ความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ ( personality ) + สถานการณ์ พฤติกรรมสังคม (= social beh. ) หรือ พฤติกรรมเฉพาะอย่าง ( specific behavior ) สรุปภาพรวมบุคลิกภาพ

arista
Download Presentation

บุคลิกภาพและตัวตนทางสังคม Personality & Social Self

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บุคลิกภาพและตัวตนทางสังคม Personality & Social Self รองศาสตราจารย์แสงสุรีย์ สำอางค์กูล

  2. ความเบื้องต้น บทนี้จะให้ความรู้ความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ (personality) + สถานการณ์ พฤติกรรมสังคม (=social beh.)หรือ พฤติกรรมเฉพาะอย่าง (specific behavior) สรุปภาพรวมบุคลิกภาพ Personality (บุคลิกภาพ) ---->Types(แบบ/ชนิด) ---->Traits(ลักษณะคงที่ ซึ่งจัดเข้าเป็นกลุ่ม/กองไว้ด้วยกัน ---> Behaviors (พฤติกรรมภายนอก /ที่แสดงออกอย่างชัดเจน)

  3. Personality บุคลิกภาพ (Personality)--->ชนิดบุคลิกภาพ (types =ใช้หลักสถิติแบบวิเคราะห์องค์ประกอบ ช่วยแบ่งแยกเป็นชนิดอย่างชัดเจน) ---> บุคลิกลักษณะ/จิตลักษณะ/อุปนิสัย (จัดเป็นกลุ่ม) กล่าวคือ trait ที่เกี่ยวข้องกันเมื่อได้นํามาจัดเข้าเป็นกลุ่มหนึ่งๆ แล้ว ก็จะกลายเป็น แบบบุคลิกภาพ = type) ---> พฤติกรรม (behavior = specific behavior) อย่าลืมเด็ดขาดว่า พฤติกรรม (ภายนอก) ต้องสามารถบรรยายเป็นแบบ เน้นที่นี่ เดี๋ยวนี้ (here and now)

  4. ตัวอย่าง....เช่น เช่น บุคลิก/จิตลักษณะพื้นฐาน 5 ด้าน ที่เรียกว่า The Big Five Type = ด้านเปิดตัว / แสดงตัว (สูง) (Extroversion) = พูดมาก + ว่องไว + กล้าแสดงออก (เหมาะสม) + มีพลัง + ชอบเข้าสังคม (traits กลุ่มหนึ่ง) Type = ด้านเห็นพ้องด้วย (สูง) (Agreeableness) = เห็นใจผู้อื่น + เมตตากรุณา + ซาบซึ้ง + ให้ความรัก +ใจอ่อนโยน (traits กลุ่มหนึ่ง) Type = มโนธรรม (สูง) (Conscientiousness) = ประมวลสรุปเก่ง + ละเอียด + ช่างวางแผน + มีประสิทธิภาพ (traitsกลุ่มหนึ่ง) ฯลฯ (ที่เหลือโปรดทบทวนด้วยตนเองในตํารา + เอกสาร)

  5. การวัดผลบุคลิก / จิตลักษณะ: วัดโดยใช้เครื่องมือวัด / สํารวจบุคลิกภาพที่มีความเที่ยงตรง (สูง) + ความเชื่อมั่น (สูง) เช่น แบบสํารวจMBTI, MMPI, MPI เป็นต้น

  6. ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมกับการแสดงพฤติกรรมของบุคคลทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมกับการแสดงพฤติกรรมของบุคคล = บุคคลแสดง beh.แตกต่างกันออกไป เพราะเรียนรู้มาไม่เหมือนกัน beh.ไม่จําเป็นต้องแสดงออกมาเหมือนเดิม คําถามที่น่าสนใจของนักทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม มี 3 ข้อ ดังนี้ (1) เราไม่สามารถมองเห็น beh.ที่เป็นผลมาจาก traitภายใน แต่ beh. เป็นผลมาจากปัจจัยสิ่งแวดล้อม (2) ความแตกต่างระหว่างบุคคลไม่จําเป็นต้องมีความมั่นคง อยู่เสมอ บุคคลสามารถเรียนรู้ที่จะแสดง beh.ในแนวทางที่ใหม่ๆ ได้

  7. ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมกับการแสดงพฤติกรรมของบุคคล (ต่อ) สไนเดอร์ กล่าวว่า บางคนแสดงพฤติกรรมภายนอกสอดคล้องกับบุคลิกลักษณะของตน (จริงใจ) มากกว่าบางคน (3) บุคคลไม่ได้ถูกบังคับให้แสดง behavior ออกมาให้สอดคล้องกับสถานการณ์ แต่สิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกันต่างหาก ที่มักจะเร้าให้บุคคลแสดงออกมาแตกต่าง กัน beh.อาจจะมีความมั่นคงตลอดเวลา ในสถานการณ์หนึ่งโดยเฉพาะ เพราะสิ่งแวดล้อมนั้นมีปัจจัยอันเดิม

  8. ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมกับการแสดงพฤติกรรมของบุคคล (ต่อ) เช่น บุคคลหนึ่งอาจแสดงความเขินอายในระดับต่างกันไปตามลักษณะสถานการณ์ เขาอาจมักจะเขินอายมาก กับบุคคลที่เพิ่งได้รู้จัก ดังนั้น ในหลายสถานการณ์ คนเราจึงไม่จําเป็นต้องแสดงออกมาเป็นประจําในสถานการณ์เดิม ๆ

  9. ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมกับการแสดงพฤติกรรมของบุคคล (ต่อ) สรุปได้ว่า บุคลิกลักษณะ (traits) ต่างๆ ไม่ใช่ตัวพยากรณ์ที่ดีของ beh. (ที่เป็นหน่วยเล็กที่สุด) ... กล่าวได้อีกนัยหนึ่งว่า พฤติกรรมเดี่ยวๆที่แสดงออกมาก็ไม่ใช่ตัวพยากรณ์ที่ดีของบุคลิกลักษณะ (traits) เฉกเช่นเดียวกัน (มีต่อ)

  10. ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมกับการแสดงพฤติกรรมของบุคคล (ต่อ) เช่น ผลวิจัยพบว่า การอนุมานว่าบุคคลนั้น ๆ มีมโนธรรม (trait)... สูงหรือไม่ ในกลุ่มนักศึกษาป.ตรีเราไม่อาจพิจารณาได้ตรงที่การแต่งกายสุภาพเรียบร้อย แต่การมีมโนธรรมสูงดังกล่าว พิจารณาได้ตรงที่การตรงต่อเวลา + การเอาใจใส่รับผิดชอบงานที่ได้รับ (แสงสุรีย์ สําอางค์กูล และนพนธ์ สัมมา, 2542) การศึกษาtrait กับสถานการณ์ควบคู่กัน…ผลการวิจัยในระยะหลัง พบว่า…beh. ถูกกําหนดโดยอิทธิพลร่วมกันระหว่างบุคลิกลักษณะ + สถานการณ์หลายตัวหลายชนิด (Lewin, 1935, 1936, 1977, 1985)

  11. เราสามารถเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพของบุคคลได้หรือ? มีบางแง่มุมของบุคลิกภาพเท่านั้น และมีหลายแนวทาง/เทคนิควิธีการที่จะทำได้ ค่ะ ทางพระพุทธศาสนา มีจุดเน้นไว้ด้วยว่า คนเป็นผู้ที่สอนได้ เปลี่ยนแปลงไปสู่ทางที่เจริญงอกงามเติบโตได้ ถ้ายังมีสติ และ ปัญญาอยู่ รวมทั้งหลงติดยึดกับอวิชชา และมีคติง่ายๆที่ว่า “ไม้อ่อนดัดง่าย ไม้แก่ดัดยาก” ด้วย ทางจิตวิทยาสังคม ก็มีหลักวิชาที่พิสูจน์ไว้หลายแนวคิด /หลักการ ค่ะ

  12. คิดดีได้ดี คิดร้ายได้ร้าย ดังนั้น จงฝึกคิดดี-รู้สึกดี-ทำดี จนเป็นนิสัยส่วนตัว แล้วจะสุขตลอดไป นะจ๊ะ

  13. ขอบคุณค่ะ ขอให้ทุกคนโชคดีในการสอบ....ค่ะ รองศาสตราจารย์แสงสุรีย์ สำอางค์กูล

More Related