1 / 28

ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะพิเศษ)

ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะพิเศษ).

arlais
Download Presentation

ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะพิเศษ)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะพิเศษ) และมีอำนาจเปลี่ยนแปลงคำสั่งของตนได้หากเห็นด้วยกับ คำอุทธรณ์ ซึ่ง กค.ได้กำหนดแนวทางไว้ในหนังสือ ที่ กค 0406.2/ว 60 ลว 29 มี.ค.2548 เรื่อง การอุทธรณ์คำสั่งตาม พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดฯ ว่า ให้พิจารณาอุทธรณ์โดยคำนึงถึงประโยชน์ของทางราชการเป็นสำคัญ หากการพิจารณาอุทธรณ์แตกต่างไปจากความเห็นของ กค. และการพิจารณาอุทธรณ์ไม่ชอบด้วยกฎหมายและเกิด ความเสียหายแก่ทางราชการในภายหลัง ผู้มีอำนาจพิจารณาอุทธรณ์จะต้องรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นทั้งหมด (ต่อ) Company Logo

  2. ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะพิเศษ) ดังนั้น การที่นายก อบต.บางโฉลงได้วินิจฉัยอุทธรณ์ เห็นด้วยกับคำอุทธรณ์และมีคำสั่งที่ 507/2547 เปลี่ยนแปลงคำสั่งเดิม เป็นให้นายพัสกรฯ ไม่ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ซึ่งแตกต่างไปจากความเห็นของ กค. หาก นอ.บางพลี ในฐานะที่เป็นผู้มีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของ อบต.บางโฉลง ให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของทางราชการเห็นว่าเป็นการดำเนินการที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของทางราชการ (ต่อ) Company Logo

  3. ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะพิเศษ) ต้องสั่งการให้ นายก อบต.บางโฉลงดำเนินการให้ถูกต้องหาก นายก อบต.บางโฉลง ไม่ดำเนินการให้ถูกต้อง นอ.บางพลี มีอำนาจเรียกให้ นายก อบต.บางโฉลง มาชี้แจงหรือสอบสวน ตลอดจนเรียกรายงานและเอกสารใดๆ จาก อบต. บางโฉลง ตาม ม.90 แห่ง พ.ร.บ.สภาตำบล และอบต. พ.ศ.2537 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.สภาตำบลและอบต. (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2546 ได้ Company Logo

  4. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539

  5. เจ้าหน้าที่ ความเสียหาย ผู้แต่งตั้ง ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 ที่มา นิยามสำคัญ Company Logo

  6. หมวด 1 กรณีเจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ 1. กระทรวง ทบวง กรม (ส่วนกลาง+ภูมิภาค) 2.ท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่นฯ Company Logo

  7. การดำเนินการเมื่อหน่วยงานของรัฐเกิดความเสียหายการดำเนินการเมื่อหน่วยงานของรัฐเกิดความเสียหาย รายงานผู้บังคับบัญชาตามลำดับ สอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด Company Logo

  8. การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด มีเหตุอันควรเชื่อว่าความเสียหาย เกิดจากการกระทำของเจ้าหน้าที่ กำหนดวัน แล้วเสร็จ กค. ประกาศกำหนดจำนวน ความเสียหาย/ผู้แทนหน่วยงาน ร่วมเป็นกรรมการ กรรมการ จำนวนไม่เกิน 5 คน

  9. การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด (ต่อ) ข้อยกเว้น รายงานผู้บังคับบัญชา ไม่มีเหตุอันควรเชื่อว่าเกิดจาก การกระทำของเจ้าหน้าที่ เห็นด้วย: ยุติเรื่อง ชดใช้ค่าเสียหายครบถ้วน ไม่เห็นด้วย : แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความ รับผิดทางละเมิด

  10. การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด (ต่อ) กรณีร่วมกันแต่งตั้งคณะกรรมการ ข้อ 10 ข้อ 11 ข้อ 11

  11. การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด (ต่อ) ผู้มีอำนาจแต่งตั้ง ไม่ดำเนินการภายในเวลาสมควร แต่งตั้งไม่เหมาะสม • ให้ปลัดกระทรวงปลัดทบวง รัฐมนตรี • แต่งตั้ง/เปลี่ยนแปลง (แทนผู้มีอำนาจ) • ตามที่เห็นสมควร

  12. กรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งหมด (ข้อ 13) 1 ประธานไม่อยู่ให้เลือกกรรมการคนใดคนหนึ่งทำหน้าที่แทน 2 มติที่ประชุมถือเสียงข้างมาก/ไม่เห็นด้วยให้ทำความเห็นแย้งไว้ (ข้อ 14) 3 ตรวจสอบข้อเท็จจริงรวมรวมพยานหลักฐานพยานบุคคล/ผู้เชี่ยวชาญ 4 ตรวจสอบเอกสาร / วัตถุ / สถานที่ 5 หน้าที่คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด

  13. ต้องให้โอกาสแก่ผู้เสียหายได้ชี้แจง (ข้อ 15) 6 เสนอความเห็นให้ผู้แต่งตั้งพิจารณา โดยมีข้อเท็จจริง/กฎหมาย /พยานหลักฐาน (ข้อ 16) 7 สอบสวนให้แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลา 8 หน้าที่คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด

  14. การดำเนินการของผู้มีอำนาจแต่งตั้งการดำเนินการของผู้มีอำนาจแต่งตั้ง ขอให้กรรมการสอบเพิ่มเติมหรือทบทวนได้ ไม่ผูกพันความเห็น ของคณะกรรมการฯ(ข้อ 16) ให้วินิจฉัยว่ามีผู้ใดต้องรับผิด/เป็นจำนวนเท่าใด *** ยังไม่ต้องแจ้งให้ผู้รับผิดทราบ (ข้อ 17) ให้ส่งผลให้ กค.ตรวจสอบภายใน 7 วัน ระหว่างรอผล กค. ให้ตระเตรียม ออกคำสั่ง/ฟ้องคดี *** มิให้ขาดอายุความ 2 ปี

  15. การดำเนินการของผู้มีอำนาจแต่งตั้ง (ต่อ) เมื่อกระทรวง การคลังแจ้งผลแล้ว ให้ดำเนินการ • ตามความเห็น กค. • ตามที่เห็นว่าถูกต้อง (ข้อ 18) หาก กค.มิได้แจ้งผลภายใน 1 ปี หรือ 1 ปี 6 เดือน ***ให้ดำเนินตามที่ เห็นสมควร กรณีแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมกัน เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดตาย ***ผู้แต่งตั้งร่วมเห็นต่างกันให้เสนอครม. *** ให้รีบดำเนินการภายในอายุความมรดก

  16. การดำเนินการของผู้มีอำนาจแต่งตั้ง (ต่อ) ข้อยกเว้น การวินิจฉัยสั่งการที่แตกต่าง จากความเห็น ของ กค. สำนวนที่ไม่ต้องส่งให้ กค.ตรวจสอบ (ประกาศ กค.) ราชการส่วนท้องถิ่น /รัฐวิสาหกิจ /หน่วยงานอื่นของรัฐ ตามพระราชกฤษฎีกาฯ ให้ปฏิบัติตามที่เห็นว่าถูกต้อง

  17. การดำเนินการของหัวหน้าหน่วยงานของรัฐการดำเนินการของหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ การแต่งตั้ง กก.ละเมิด ถูกต้อง/ชอบด้วยกฎหมาย อ้างกฎหมาย หรือระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง มีอำนาจแต่งตั้ง

  18. การดำเนินการของหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ (ต่อ) การแต่งตั้ง กก.ละเมิด ถูกต้อง/ชอบด้วยกฎหมาย ตั้ง กก.ไม่เกินจำนวนที่กฎหมายหรือระเบียบกำหนด ( 5 คน) ไม่แต่งตั้งผู้เกี่ยวข้อง/มีส่วนได้เสียเป็น กก. แต่งตั้ง กก.ร่วม

  19. การดำเนินการของหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ (ต่อ) การวินิจฉัยสั่งการ ถูกต้อง/ชอบด้วยกฎหมาย ลงลายมือชื่อ และวันเดือนปี ที่วินิจฉัยสั่งการ วินิจฉัยและมีความเห็นว่า • มีเจ้าหน้าที่ต้องรับผิดชดใช้ • ค่าสินไหมทดแทนหรือไม่ • ท้ายรายงานผลการสอบสวน • ของ กก.ละเมิด • จำนวนเท่าใด

  20. การดำเนินการของหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ (ต่อ) ส่งสำนวนให้กระทรวงการคลัง ตรวจสอบ ภายใน 7 วัน ออกคำสั่งเรียกให้ผู้ต้องรับผิดชดใช้ ภายใน 2 ปี ***(ออกหลังส่งสำนวนให้ กค./ออกเมื่อ กค.แจ้งผลแล้ว) ไล่เบี้ย ภายใน 1 ปี ดำเนินการยึด อายัด ทรัพย์ ภายใน 10 ปี ฟ้องทายาทผู้ต้องรับผิด ภายในอายุความมรดก (1 ปี)

  21. การดำเนินการของ กก.ละเมิด 1. ตรวจสอบอำนาจหน้าที่ตามคำสั่ง แต่งตั้ง 2. ประชุมกำหนดแนวทางการ สอบสวน และปฏิทินระยะเวลา การพิจารณา

  22. การดำเนินการของ กก.ละเมิด (ต่อ) 3. ทำหนังสือเชิญผู้เกี่ยวข้องมาให้การ และให้ส่งเอกสารที่เกี่ยวข้อง 4. แจ้งสิทธิก่อนดำเนินการสอบสวน 5. ให้โอกาสเจ้าหน้าที่ที่ถูกสอบสวน -ชี้แจงข้อเท็จจริง -โต้แย้งแสดงพยานหลักฐานอย่างเพียงพอ และเป็นธรรม

  23. การดำเนินการของ กก.ละเมิด (ต่อ) 6. รวบรวมเอกสาร/พยานหลักฐาน ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด 7. ไม่รับฟัง -พยานที่ยังไม่ได้ข้อยุติ -พยานบอกเล่า -พยานนอกสำนวน

  24. การดำเนินการของ กก.ละเมิด (ต่อ) 8. เสนอความเห็นว่า -มีเจ้าหน้าที่ต้องรับผิดชดใช้ ค่าสินไหมทดแทนหรือไม่ -จำนวนเท่าใด 9. ใช้ข้อกฎหมายในการวินิจฉัย ความรับผิด

  25. การดำเนินการของ กก.ละเมิด (ต่อ) 10. ลงลายมือชื่อ ตำแหน่ง และวันเดือนปี -ท้ายบันทึกรายงานผลการสอบสวน 11. ขอขยายเวลา หากการสอบสวน ไม่แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด 12. สอบสวนให้แล้วเสร็จภายในกำหนดอายุความ

  26. การพิจารณาของกระทรวงการคลังการพิจารณาของกระทรวงการคลัง ให้มี คณะกรรมการพิจารณา ความรับผิดทางแพ่ง” เป็นผู้พิจารณา ให้ความเห็นต่อกระทรวงการคลัง (ข้อ 21) ตรวจสอบพยาน หลักฐานที่เกี่ยวข้อง ให้บุคคล มาชี้แจงเพิ่มเติม ให้รับฟังพยาน หลักฐานเพิ่มเติม

  27. การชดใช้ค่าเสียหาย ถ้าเป็นเงิน ชดใช้เป็นเงิน ต้องชดใช้เป็นสิ่งของที่มีสภาพ คุณภาพ ปริมาณ และลักษณะอย่างเดียวกัน ถ้าเป็นสิ่งของ ต้องทำสัญญาตกลง และซ่อมให้แล้วเสร็จโดยเร็ว(6 เดือน) ถ้าซ่อม ถ้าชดใช้ต่างจาก ทรัพย์สินที่เสียหาย หรือสูญหาย ต้องทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง

  28. การผ่อนชำระเงิน ห้ามฟ้องล้มละลายในกรณีที่ไม่มีเงินผ่อนชำระ เว้นแต่ เข้าเงื่อนไขข้อ 27 แห่งระเบียบฯ หากไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังกล่าว ให้ทำ ความตกลงกับกระทรวงการ คลังเป็นกรณีไป เจ้าหน้าที่สามารถผ่อนชำระได้ตามหลักเกณฑ์ ของกระทรวง การคลัง ว115

More Related