1 / 23

การบริหารความเสี่ยงและ ความเสี่ยงด้านการวิจัยและพัฒนา

การบริหารความเสี่ยงและ ความเสี่ยงด้านการวิจัยและพัฒนา. 14 มกราคม 2552 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มช. ดร.เกรียงศักดิ์ ศิริพงษาโรจน์ ผอ. สำนักยุทธศาสตร์วิสาหกิจ วว. Risk : Any uncertain future events that might prevent the organization from achieving their business objectives. Definition of Risk.

Download Presentation

การบริหารความเสี่ยงและ ความเสี่ยงด้านการวิจัยและพัฒนา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารความเสี่ยงและความเสี่ยงด้านการวิจัยและพัฒนาการบริหารความเสี่ยงและความเสี่ยงด้านการวิจัยและพัฒนา 14 มกราคม 2552 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มช. ดร.เกรียงศักดิ์ ศิริพงษาโรจน์ ผอ. สำนักยุทธศาสตร์วิสาหกิจ วว.

  2. Risk : Any uncertain future events that might prevent the organization from achieving their business objectives. Definition of Risk 3 Changing Condition Expected Outcome Planned Process Starting Condition Objective or Target Deviation from Original Objective or Target Actual Process Objective or Target Time

  3. 4 ผลของความเสี่ยงที่มีต่อองค์กร • ความเสี่ยงมีผลเสียต่อองค์กร • ผลเสียทางการงิน เช่น รายได้ลดลง ถูกฟ้องร้องชดใช้ค่าเสียหาย • ผลเสียที่ไม่ใช่ทางการเงิน เช่น ผลต่อความสำเร็จขององค์กร ผลเสียต่อชื่อเสียงขององค์กร หรือทำให้งานสำคัญๆ หยุดชะงัก

  4. 5 Seven Major Disasters Between October 1, 2004 and December 20, 2005 Source: Disaster Prevention and Mitigation Department

  5. 6 การบริหารความเสี่ยง วิธีการจัดการ ของผลจากการคาดการณ์และลดผลเสียที่อาจเกิดขึ้นจากความไม่แน่นอน เพื่อให้องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล หรือเพื่อสร้างมูลค่าขององค์กรให้สูงสุดภายใต้สภาวการณ์ที่ไม่แน่นอนในการดำเนินธุรกิจ • สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) • ลดผลกระทบ/ความเสียหาย • ลดความไม่แน่นอน (ลดโอกาสการเกิด) • ปฏิบัติตามกฎหมายหลักเกณฑ์ต่างๆ Minimize Gain Loss Maximize

  6. ความสำคัญของการบริหารความเสี่ยงความสำคัญของการบริหารความเสี่ยง 7 • การบริหารความเสี่ยงที่ดี จะช่วยในการเพิ่มประสิทธิภาพ • และประสิทธิผลของการดำเนินงานขององค์กร • การวางแผนกลยุทธ์มีประสิทธิผลยิ่งขึ้น • ควบคุมต้นทุนการดำเนินงานได้ดีขึ้น • เพิ่มมูลค่าให้แก่ผู้ถือหุ้น (สำหรับ มช.เพิ่มความคุ้มค่าของงบประมาณที่ใช้) • เพิ่มความรู้ความเข้าใจในการเผชิญกับความเสี่ยง • การตัดสินใจเป็นระบบและมีข้อมูลที่ชัดเจน • เพิ่มความพร้อมที่จะให้องค์กรภายนอกเข้ามาทบทวนตรวจสอบ • การหยุดชะงักในการดำเนินงานมีน้อยที่สุด • การใช้ทรัพยากรต่างๆในการดำเนินงานดีขึ้นกว่าเดิม • เสริมสร้างความเข้มแข็งของวัฒนธรรมการปรับปรุงการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

  7. ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน • เศรษฐกิจ/สังคม/ การเมือง/กฎหมาย • วัฒนธรรมองค์กร • ความรู้ ความสามารถ ของบุคลากร • คู่แข่ง/พฤติกรรมผู้บริโภค • เทคโนโลยี • กระบวนการทำงาน • ภัยธรรมชาติ • ข้อมูลระบบสารสนเทศ แหล่งที่มาของความเสี่ยง 8 องค์กร

  8. ประเภทของความเสี่ยง 9 ความเสี่ยง ด้านกฎหมาย Compliance Risk ความเสี่ยง เชิงกลยุทธ์ Strategic Risk ความเสี่ยง ด้านสารสนเทศ Information Risk ประเภท ของ ความเสี่ยง ความเสี่ยง ทางการเงิน Financial Risk ความเสี่ยง ในการปฏิบัติการ Operational Risk ความเสี่ยง จากภัยธรรมชาติ Natural Disaster Risk

  9. ตัวอย่างประเภทความเสี่ยงและความเสี่ยง ตัวอย่างประเภทความเสี่ยงและความเสี่ยง 10

  10. 11 ตัวอย่างประเภทความเสี่ยงและความเสี่ยง

  11. 12 ตัวอย่างประเภทความเสี่ยงและความเสี่ยง

  12. 13 ตัวอย่างประเภทความเสี่ยงและความเสี่ยง

  13. 14 ขั้นตอนและวิธีการบริหารความเสี่ยง

  14. 15 RISK CYCLE MODEL การค้นหา และระบุ ความเสี่ยง การทบทวนการบริหารความเสี่ยง การประเมินและการจัดลำดับความเสี่ยง นโยบาย / วัตถุประสงค์ / กลยุทธ์ขององค์กร การประเมินผลการบริหารความเสี่ยง การจัดทำ แผนบริหาร ความเสี่ยง การรายงานและ ติดตามผล การนำแผนไปสู่ภาคปฏิบัติ วงจรบริหารความเสี่ยง

  15. ขั้นตอนสำคัญการบริหารความเสี่ยงขั้นตอนสำคัญการบริหารความเสี่ยง ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน เกิดการเปลี่ยนแปลง ไม่สามารถคาดการณ์ ได้อย่างแม่นยำ โอกาส ความไม่แน่นอน ความเสี่ยง 16 1. การระบุปัจจัยเสี่ยง 2. การประเมินและวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยง ผลกระทบ 3. การบริหารความเสียง โอกาสเกิด ความเสี่ยงภายใต้การควบคุมในปัจจุบัน ความเสี่ยงที่ยอมรับ ระดับความเสียง การบริหารความเสี่ยง กระบวนการต่อเนื่อง

  16. 1. การระบุปัจจัยเสี่ยง องค์กร หน่วยธุรกิจ หน่วยงาน กิจกรรม 17 • กำหนดวัตถุประสงค์/เป้าหมายของ Risk Area ให้ชัดเจน โดยใช้หลักการSMART • ระบุปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ ที่กระทบต่อ Risk Area ที่กำหนด โดยวิเคราะห์หาแหล่ง ของความเสี่ยง (Source of Risk) หรือต้นเหตุที่แท้จริง (Root Cause) ของแต่ละ Risk Area S = Specific M =Measurable A = Attainable R = Realistic T = Timely Risk Identification Tools • Internal / External Factor Analysis • Value Chain Analysis • Process Flowchart Review • Cause-and-Effect Diagram • What-If Analysis

  17. วัดด้านการเงิน ผลกระทบ วัดด้านอื่น ความเสี่ยง ความถี่ในอดีต โอกาสเกิด คาดการณ์อนาคต 2. การประเมินและวิเคราะห์ความเสี่ยง 18 Risk Assessment & Analysis Tools • ระบุมาตรการปัจจุบันที่ได้ดำเนินการ เพื่อ ควบคุมหรือลดความความเสี่ยงของแต่ละ ปัจจัยเสี่ยง • ประเมินความเสี่ยงที่มีอยู่ภายใต้มาตรการ ดังกล่าว โดยวิเคราะห์ผลกระทบในด้านต่างๆและโอกาสในการเกิด • Sensitivity Analysis • Historical Data Analysis • Statistical Analysis • Forecasting Method • Decision Tree Analysis • Monte Carlo Analysis

  18. ตารางการประเมินความเสี่ยงตารางการประเมินความเสี่ยง 19 4 E 4 E 3 E 2 E 1 รุนแรงมาก Priority Risk Level รุนแรง 3 M 11 H 7 E 6 E 5 Impact ( ผลกระทบ) 2 ปานกลาง L 14 M 12 H 8 H 9 1 น้อย H 10 L 15 M 13 L 16 Risk Level Likelihood (โอกาสที่อาจเกิดขึ้น) E = Extreme H = High M = Medium L = Low เกือบจะ แน่นอน น้อย ปานกลาง สูง 1 2 3 4

  19. ผลกระทบ 4 3 2 1 ลดโอกาสเกิด ลดผลกระทบ โอกาสเกิด 1 2 3 4 3 : การบริหารความเสี่ยง 20 • ระบุมาตรการในการบริหารจัดการความเสี่ยงให้สอดคล้องกับ Source of Risk ที่ได้ระบุไว้แล้วและพิจารณาคัดเลือกมาตรการ โดย Cost and Benefit Analysis • ระบุผู้รับผิดชอบและระยะเวลา ดำเนินการตามมาตรการบริหาร ความเสี่ยงอย่างชัดเจน • การยอมรับความเสี่ยง (Take) • การดูแลแก้ไข (Treat) • การยกเลิก (Terminate) • การโอนความเสี่ยง (Transfer) กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง

  20. กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง 21 • หลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Terminate) ตัวอย่างเช่น หลีกเลี่ยงความเสี่ยงจากอัตราการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ด้วยการไม่กู้ยืมจากต่างประเทศ • กระจายความเสี่ยง (Treat) ตัวอย่างเช่น การมีระบบผลิตหลายๆระบบ เพื่อลดความเสี่ยงจากการที่ต้องหยุดกิจการ • ควบคุม (Treat) กำหนดวิธีการดำเนินงานหรือกิจกรรมที่ต้องดำเนินการเพื่อป้องกันและตรวจจับเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ หรือ, หากเกิดเหตุการณ์ขึ้น, ควบคุมสถานะการณ์ไม่ให้ลุกลาม • ให้ผู้อื่นเข้ามามีส่วนร่วมในความเสี่ยง (Share & Transfer) ตัวอย่างเช่น การประกันภัยจากความเสี่ยงเรื่องอัคคีภัย • ถ่ายโอนความเสี่ยงให้ผู้อื่น (Transfer) ตัวอย่างเช่น การว่าจ้างองค์กรอื่นให้ดำเนินงานแทนในบางเรื่อง (Outsourcing)

  21. กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง 22 • ยอมรับความเสี่ยงในระดับหนึ่ง (Take)เพื่อมิให้ค่าใช้จ่ายในการบริหารความเสี่ยงสูงเกินกว่าประโยชน์ที่จะได้รับ ตัวอย่างเช่น การยอมให้ตัวอย่างน้ำประปาที่ไม่ได้มาตรฐานแบคทีเรียโคลิฟอร์ม มีได้ไม่เกิน 2% ของตัวอย่างทั้งหมด แทนที่จะเป็น 0% • การบริหารความเสี่ยง จำเป็นต้องใช้ดำเนินการแบบบูรณาการ กล่าวคือ ใช้กลยุทธ์และเทคนิคต่างๆอย่างเหมาะสม ให้ครอบคลุมทุกเหตุการณ์ที่เป็นความเสี่ยง

  22. ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการบริหารความเสี่ยงปัจจัยแห่งความสำเร็จในการบริหารความเสี่ยง 23 การสื่อสารที่มีประสิทธิผล และ การบริหารการปลี่ยนแปลง (Change Management)

  23. Better Safe Than Sorry กันดีกว่าแก้เพราะถ้าแย่ก็จะแก้ไม่ไหว 38

More Related