1 / 25

ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการสืบสวนสอบสวนคดีอาญา

ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการสืบสวนสอบสวนคดีอาญา. ค่าตอบแทนการสอบสวนคดีอาญา ค่าตอบแทนเจ้าพนักงานผู้ได้ทำการชันสูตรพลิกศพ ค่าใช้จ่ายในการส่งหมายเรียกพยา น ค่าตอบแทนพยาน /ค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองพยาน ค่าตอบแทน/ค่าพาหนะเดินทาง นักจิตวิทยาหรือนัก สังคมสงเคราะห์. ผลการเบิกจ่ายเงินในปีงบประมาณ 2552

Download Presentation

ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการสืบสวนสอบสวนคดีอาญา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการสืบสวนสอบสวนคดีอาญาค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการสืบสวนสอบสวนคดีอาญา

  2. ค่าตอบแทนการสอบสวนคดีอาญาค่าตอบแทนการสอบสวนคดีอาญา • ค่าตอบแทนเจ้าพนักงานผู้ได้ทำการชันสูตรพลิกศพ • ค่าใช้จ่ายในการส่งหมายเรียกพยาน • ค่าตอบแทนพยาน /ค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองพยาน • ค่าตอบแทน/ค่าพาหนะเดินทาง นักจิตวิทยาหรือนัก • สังคมสงเคราะห์

  3. ผลการเบิกจ่ายเงินในปีงบประมาณ 2552 ของ ภ.จว.ชลบุรี

  4. ได้รับจัดสรร เบิกจ่าย (บาท) (บาท) ค่าตอบแทนการสอบสวนคดีอาญา 10,922,800 17,389,504 ค่าตอบแทนการชันสูตรพลิกศพ 140,000 45,700 ค่าใช้จ่ายในการส่งหมายเรียกพยาน 250,000 199,400 ค่าตอบแทนพยาน/คุ้มครองพยาน 400,000 0 ค่าตอบแทน/ค่าพาหนะ นักจิตวิทยาฯ 240,000 64,500 รวมทั้งสิ้น 11,952,800 17,699,104

  5. ระเบียบที่เกี่ยวข้อง/การปฏิบัติระเบียบที่เกี่ยวข้อง/การปฏิบัติ ระเบียบ กค. ว่าด้วย การจ่ายเงินค่าตอบแทนการสอบสวน คดีอาญา พ.ศ.2534 • ผู้มีสิทธิขอรับเงิน - พนักงานสอบสวน • ผู้รับรองสิทธิ - ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปหนึ่งชั้น • ผู้อนุมัติจ่ายเงิน - หัวสถานีตำรวจ

  6. อัตราการจ่าย • จำคุกไม่เกินสามปี - คดีละ 500 บาท • จำคุกตั้งแต่สามปีไม่เกินห้าปี - คดีละ 1,000 บาท • จำคุกตั้งแต่สิบปีขึ้นไป - คดีละ 1,500 บาท ถ้ารู้ตัวผู้กระทำผิดแต่จับกุมตัวไม่ได้ให้เบิกได้ครึ่งหนึ่ง คดีใดที่เบิกค่าตอบแทนแล้ว ต่อมามีการจับกุมตัวผู้ต้องหาในคดีนั้นเพิ่มเติม จะเบิกค่าตอบแทนอีกไม่ได้

  7. คดีที่ห้ามเบิก • คดีฟ้องด้วยวาจา • คดีที่ พงส.มีอำนาจเปรียบเทียบปรับ • คดีความผิดอันยอมความได้ เมื่อได้ถอนคำร้องทุกข์โดยถูกต้อง • คดีความผิดลหุโทษ • คดีความผิดที่มีโทษปรับสถานเดียว ระยะเวลาที่ขอเบิก พงส.ต้องยื่นแบบขอรับเงินภายในหกสิบวันนับแต่วันที่พนักงานอัยการได้รับสำนวนการสอบสวน

  8. การควบคุม ให้สถานีตำรวจที่ พงส. สังกัดอยู่ จัดทำบัญชีคุมแบบขอรับเงินค่าตอบแทนฯ แล้วดำเนินการเบิกจ่ายไปตามลำดับ

  9. ปัญหา งบประมาณที่ได้รับในแต่ละปีไม่เพียงพอเบิกจ่าย แนวทางแก้ไข เนื่องจากเป็นค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้กำหนดในเบิกจ่ายให้เสร็จสิ้นภายในปีงบประมาณที่เกิดค่าใช้จ่าย ดังนั้นจึงสามารถนำแบบขอรับเงินของ พงส. ไปขอเบิกจ่ายเงินได้เมื่อได้รับจัดสรรงบประมาณภายใต้เงื่อนไข ดังนี้

  10. พงส. ต้องยื่นแบบขอรับเงินภายใน หกสิบวันนับแต่วันส่งสำนวนให้อัยการ แล้วให้ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปลงนามรับรองสิทธิ แต่ยังไม่ต้องให้หัวหน้าสถานีตำรวจลงนามอนุมัติการจ่าย • ให้เจ้าหน้าที่เสมียนคดีที่ได้รับมอบหมายรวบรวมแบบขอรับเงินของ พงส. จัดทำบัญชีคุมใบสำคัญไว้ตามลำดับ • เมื่อสถานีตำรวจได้รับแจ้งวงเงินจัดสรรจาก ภ.จว. ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการจัดทำบัญชีคุมใบสำคัญนำแบบขอรับเงินตามบัญชีคุมที่ได้จัดทำไว้เรียงตามลำคับการคุมภายในวงเงินที่ได้รับจัดสรรเสนอหัวหน้าสถานีตำรวจลงนามอนุมัติการจ่ายเงิน • นำส่งใบสำคัญให้ ภ.จว.ดำเนินการเบิกจ่ายเงินให้ต่อไป ข้อห้ามอย่าให้ หน.สภ.ลงนามอนุมัติการจ่ายเงินไว้ก่อน เพราะถ้าไม่มีงบประมาณเบิกจ่าย แบบขอรับเงินดังกล่าวจะเป็นค่าใช้จ่ายค้างเบิกข้ามปี

  11. ระเบียบ ยธ. ว่าด้วยการจ่ายค่าตอบแทน หรือค่าป่วยการ ค่าพาหนะเดินทางและค่าเช่าที่พักของแพทย์และเจ้าพนักงานผู้ได้ทำการชันสูตรพลิกศพตาม ป.วิอาญา มาตรา 150 พ.ศ.2543 • สิทธิในการขอรับเงินของพนักงานสอบสวนในฐานะเจ้าพนักงานผู้ได้ทำการชันสูตรพลิกศพในที่เกิดเหตุ • อัตราการจ่าย - ไม่เกิน 800 บาท/คน/ครั้ง • ผู้มีอำนาจอนุมัติการจ่าย - หัวหน้าสถานีตำรวจ

  12. ระเบียบ ยธ. ว่าด้วย การจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการส่ง หมายเรียกพยานแก่เจ้าพนักงานผู้ส่งหมาย ตาม ป.วิอาญา มาตรา 55/1 พ.ศ.2548 • ผู้มีสิทธิรับเงิน - เจ้าพนักงานผู้ส่งหมายเรียกพยาน • อัตราการจ่าย - ในเขต กทม. อัตรา 150 บาท/หมาย - นอกเขต กทม. อัตรา 200 บาท/หมาย • ผู้รับรองสิทธิ - หัวหน้างานสอบสวน/หัวหน้ากลุ่มงาน สอบสวน/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย • ผู้อนุมัติเบิกจ่าย - หัวหน้าสถานีตำรวจ/หัวหน้าหน่วยงาน ของเจ้าพนักงานผู้ส่งหมายเรียกพยาน

  13. การปฏิบัติ คำสั่ง ตร. ที่ 431/2550 ลง 1 ส.ค.2550 เรื่อง หลักเกณฑ์ และแบบขอรับเงินค่าใช้จ่ายในการส่งหมายเรียกพยาน ตาม ป.วิอาญา มาตรา 55/1 1. คดีเดียวกันพยานหลายคนอยู่บ้านเดียวกันจ่ายให้หมายเดียว 2. คดีเดียวกันพยานหลายคนอยู่บ้านคนละหลัง แต่แขวง/ตำบลเดียวกัน 2.1 ส่งหมายเรียกหลังแรกจ่ายตามอัตราที่ระเบียบกำหนด 2.2 ส่งหมายเรียกพยานรายต่อๆ ไปในบ้านแต่ละหลังจ่าย ครึ่งหนึ่งตามอัตราที่ระเบียบกำหนด 3. คดีเดียวกันพยานหลายคนอยู่แขวง/ตำบลต่างกัน จ่ายตามอัตราที่ ระเบียบกำหนด

  14. การส่งหมายเรียกที่ห้ามเบิกค่าใช้จ่ายการส่งหมายเรียกที่ห้ามเบิกค่าใช้จ่าย • พยานเป็นข้าราชการตำรวจหรือลูกจ้างที่อยู่ใน สภ. หรือหน่วยงานเดียวกับเจ้าพนักงานผู้ส่งหมาย • การส่งหมายเรียกทางไปรษณีย์ • การส่งหมายเรียกพยานให้ส่วนราชการ

  15. ระเบียบ ยธ. ว่าด้วย ค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายแก่พยาน สามี ภรรยา ผู้บุพการี ผู้สืบสันดานของพยาน หรือบุคคลอื่นที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับพยานในคดีอาญา พ.ศ.2547 ค่าใช้จ่ายที่อยู่ในความรับผิดชอบของสถานีตำรวจ 1. ค่าตอบแทนพยานในชั้นพนักงานสอบสวน เฉพาะที่ระบุ ไว้ในสำนวน อัตราการจ่าย - พยานที่อยู่ในเขตจังหวัดเดียวกับสถานี ตำรวจ ครั้งละ 200 บาท - พยานที่อยู่ต่างจังหวัด ครั้งละ 500 บาท

  16. ผู้อนุมัติการจ่าย - หัวหน้าสถานีตำรวจ/หัวหน้าหน่วยงาน ที่พยานได้มาให้ข้อเท็จจริง แนวทางปฏิบัติ หนังสือ ตร. ที่ 0031.212/6210 ลง 14 พ.ย.2549 เรื่อง การเบิกจ่ายค่าตอบแทนพยานซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ผู้สืบสวนคดีอาญา • ควรจ่ายค่าตอบแทนแก่พยานที่เป็นประชาชนก่อน หากมีเงินงบประมาณเหลือก็อนุมัติจ่ายให้แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นลำดับต่อไป • ในระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยกัน ผู้ที่จับกุมตัวผู้ต้องหาในความผิดอาญาสำคัญและเป็นประจักษ์พยานยืนยันการกระทำผิดของผู้ต้องหา เช่นคดียาเสพติด ควรได้รับค่าตอบแทนก่อนผู้ที่จับกุมตัวผู้ต้องหาตามหมายจับซึ่งไม่ได้ยืนยันการกระทำผิดของผู้ต้องหา • ข้าราชการที่จะต้องเดินทางมาให้ปากคำควรได้รับค่าตอบแทนก่อนผู้ที่ปฏิบัติราชการอยู่ในสถานที่เดียวกับเจ้าพนักงานผู้มีอำนาจสอบสวน

  17. 2. ค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองพยาน การปฏิบัติ 1. ระเบียบ ตร. ว่าด้วย กำหนดแนวทางปฏิบัติการคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.2548 2. หนังสือ ตร. ที่ 0004.21/2592 ลง 19 พ.ค.2548 เรื่อง กำหนดแนวทางปฏิบัติในการคุ้มครองพยานในคดีอาญา

  18. พยานที่จะได้รับความคุ้มครองพยานที่จะได้รับความคุ้มครอง • คดีอาญาที่มีอัตราโทษอย่างต่ำจำคุกตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป • คดีอาญาที่มีอัตราโทษอย่างต่ำจำคุกตั้งแต่ 3 ปี ขึ้นไป และผู้กระทำผิด/ผู้ถูกกล่าวหา/ผู้ต้องสงสัย เป็นผู้มีอิทธิพลเกี่ยวกับคดีอาญา 15 ประเภท หรือ • คดีอาญาที่เห็นว่าพยานอาจไม่ได้รับความปลอดภัย และ ผบช. หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายเห็นสมควรให้คุ้มครองความปลอดภัย

  19. ผู้มีอำนาจอนุมัติการคุ้มครองผู้มีอำนาจอนุมัติการคุ้มครอง • ผบก. หรือผู้รักษาราชการแทน อนุมัติได้ 7 วัน • หากจำเป็นต้องคุ้มครองต่อ ให้อนุมัติต่อไปได้อีกไม่เกิน 14 วัน • หากจำเป็นต้องคุ้มครองต่อ ให้เสนอ ผบช. หรือผู้รักษาราชการแทน • ผบช. หรือผู้รักษาราชการแทน อนุมัติได้ไม่เกิน 60 วัน • หากเกินกว่านี้ให้ขอนุมัติ ผบ.ตร. หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

  20. อัตราค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองพยานอัตราค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองพยาน • ค่าใช้จ่ายของพยาน สามี ภรรยา ผู้บุพการี ผู้สืบสันดาน 1.1 ค่าที่พัก - ไม่เกินห้องละ 800 บาท / วัน 1.2 ค่าอาหาร เครื่องดื่ม - คนละ 200 บาท/ วัน 1.3 ค่าเลี้ยงชีพที่สมควร ฯ - คนละ 200 บาท / วัน • เจ้าหน้าที่ตำรวจ 2.1 ค่าที่พัก - ไม่เกินห้องละ 800 บาท / วัน 2.2 ค่าดำเนินการฯ ระยะเวลาไม่ต่ำกว่า 12 ชม. - คนละ 200 บาท/ วัน 2.3 ค่าใช้จ่ายในการปกปิดมิให้เปิดเผยข้อมูลที่ระบุตัวพยานได้ให้ เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง

  21. ผู้มีอำนาจสั่งจ่ายค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองพยานผู้มีอำนาจสั่งจ่ายค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองพยาน • หัวหน้าสถานีตำรวจ หรือหัวหน้าหน่วยงานที่พยานได้มาให้ข้อเท็จจริง เป็นผู้สั่งจ่ายค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองพยานตามระเบียบ ยธ. การควบคุมและกำกับดูแลการคุ้มครองพยาน • ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทำทะเบียการคุ้มครองพยานตามแบบที่กำหนดเก็บรักษาไว้ที่หน่วยงานระดับ บก. และรายงาน บช. • ให้ บช. ทำการตรวจสอบและประเมินผลการคุ้มครองพยานของหน่วยงานในสังกัดและรายงาน ตร. ทุกวันที่ 31 มี.ค. และ 31 ส.ค. ของทุกปี

  22. ระเบียบ ยธ. ว่าด้วย การจ่ายค่าตอบแทนและค่าพาหนะเดินทางแก่นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห์ที่เข้าร่วมในการร้องทุกข์ การสอบสวน การไต่สวนมูลฟ้อง และการพิจารณาตาม ป.วิอาญา มาตรา 12 ทวิ พ.ศ. 2549 • ผู้มีสิทธิขอเบิก - นักจิตวิทยาฯ ที่เข้าร่วมการสอบสวนฯ • อัตราการจ่าย ค่าตอบแทน - คนละ 500 บาท/ ครั้ง ไม่เกินคนละ 1 ครั้ง / วัน ค่าพาหนะ - ในอัตราที่จ่ายจริง คนละไม่เกิน 100 บาท / วัน • ผู้อนุมัติการจ่าย - หัวหน้าสถานีตำรวจ

  23. ข้อควรระวัง ค่าตอบแทนพยาน / ค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองพยาน ค่าใช้จ่ายในการส่งหมายเรียกพยาน ค่าใช้จ่ายในการชันสูตรพลิกศพ ค่าตอบแทน ค่าพาหนะเดินทางของนักจิตวิทยาฯ • เป็นค่าใช้จ่ายที่จะต้องขอเบิกจ่ายให้เสร็จสิ้นภายในปีงบประมาณที่เกิดค่าใช้จ่าย หากเบิกจ่ายไม่ทันจะเป็นค่าใช้จ่ายค้างเบิกข้ามปี ซึ่งมีวิธีการ/ขั้นตอนขอเบิกซับซ้อนมากกว่าการขอเบิกภายในปีงบประมาณ และผู้ที่ทำให้เกิดค่าใช้จ่ายค้างเบิกข้ามปีอาจถูกพิจารณาข้อบกพร่องตามแนวทางที่ ตร. กำหนด

  24. งบประมาณที่จะได้รับจัดสรรในปี 2553 รายการ ปี 2552 ปี 2553 เพิ่ม/ลด ค่าตอบแทนการสอบสวนคดีอาญา 24,300,000 27,000,000 2,700,000 ค่าตอบแทนการชันสูตรพลิกศพ 596,470 596,200 - 270 ค่าใช้จ่ายในการส่งหมายเรียกพยาน 1,000,000 382,400 - 617,600 ค่าตอบแทนพยาน/คุ้มครองพยาน 1,181,800 1,179,600 - 2,200 ค่าตอบแทน/ค่าพาหนะ นักจิตวิทยาฯ 1,191,800 333,500 - 858,300 รวมทั้งสิ้น 28,270,070 29,491,700 1,221,630

  25. ขอขอบคุณ

More Related