1 / 22

กระบวนการนำเข้าแรงงานต่างด้าว ๓ สัญชาติ มาทำงานกับนายจ้างในประเทศไทย ภายใต้ MOU

กระบวนการนำเข้าแรงงานต่างด้าว ๓ สัญชาติ มาทำงานกับนายจ้างในประเทศไทย ภายใต้ MOU. โดย. อารี สวัสดิ์ชูแก้ว หัวหน้าฝ่ายจัดระบบการนำเข้าแรงงานต่างด้าวตาม MOU สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน. MOU. ความเป็นมาของการนำเข้าแรงงานต่างด้าว ภายใต้ MOU. 18 ต.ค.45 (2002 )

arnav
Download Presentation

กระบวนการนำเข้าแรงงานต่างด้าว ๓ สัญชาติ มาทำงานกับนายจ้างในประเทศไทย ภายใต้ MOU

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กระบวนการนำเข้าแรงงานต่างด้าว ๓ สัญชาติมาทำงานกับนายจ้างในประเทศไทย ภายใต้ MOU โดย อารี สวัสดิ์ชูแก้ว หัวหน้าฝ่ายจัดระบบการนำเข้าแรงงานต่างด้าวตาม MOU สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน MOU

  2. ความเป็นมาของการนำเข้าแรงงานต่างด้าว ภายใต้ MOU 18 ต.ค.45 (2002) เริ่ม ปี 2548 21 มิ.ย.46 (2003) เริ่ม ปี 2552 31 พ.ค.46 (2003) เริ่ม ปี 2551 MOU

  3. วัตถุประสงค์ของการจัดทำข้อตกลง MOU ว่าด้วยความร่วมมือการจ้างแรงงาน......................... • เพื่อให้มีขั้นตอนการจ้างงานที่ถูกกฎหมาย และมีการดำเนินการที่เหมาะสม • เพื่อให้มีกระบวนการส่งกลับแรงงานต่างด้าวที่ครบวาระการจ้างงานอย่างมีประสิทธิภาพ • เพื่อให้มีการคุ้มครองแรงงานตามกฎหมาย • ป้องกันและปราบปรามการข้ามแดนผิดกฎหมาย ป้องกันการค้าแรงงานและการจ้างแรงงานที่ผิดกฎหมาย MOU

  4. ขอบเขตการดำเนินงาน • หน่วยงานที่รับผิดชอบจะจัดให้มีการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส หรือระดับรัฐมนตรี เพื่อปรึกษาหารือในประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง (โดยผลัดเปลี่ยนกันเป็นเจ้าภาพ) • การจ้างแรงงานจะต้องได้รับอนุญาตจากหน่วยงานของแต่ละประเทศ • การเดินทางเข้าเมือง การอนุญาตให้ทำงาน และการตรวจสุขภาพเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง • ลักษณะงานที่อนุญาตให้ทำคือ กรรมกรและผู้รับใช้ในบ้าน MOU

  5. ความคืบหน้า MOU ลาวฝ่ายไทยจะจัดตั้งด่านตรวจสอบและพิจารณาอนุญาตการทำงานของคนต่างด้าว ณ จังหวัดหนองคาย กัมพูชาไทยจะจัดตั้งด่านตรวจสอบและพิจารณาอนุญาตการทำงานของคนต่างด้าว ณ อรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว พม่าไทยจะจัดตั้งด่านตรวจสอบและพิจารณาอนุญาตการทำงานของคนต่างด้าว ณ อ. แม่สาย จังหวัดเชียงราย อ. แม่สอด จังหวัดตาก และจังหวัดระนอง MOU

  6. ระยะเวลาการจ้างงาน • ครั้งแรกอนุญาตไม่เกิน 2 ปี ขอขยายระยะเวลาได้อีก 2 ปี แต่รวมแล้วไม่เกิน 4 ปี เมื่อครบกำหนดระยะเวลา 4 ปี ให้ถือว่าสิ้นสุดวาระการจ้างงานและจะต้องเดินทางกลับประเทศ ** หากต้องการกลับเข้ามาทำงานใหม่ ต้องเว้นระยะห่าง 3 ปี จึงจะเดินทางเข้ามาทำงานใหม่ได้ (อยู่ในระหว่างแก้ไขเปลี่ยนแปลง) MOU

  7. ขั้นตอนการนำเข้าแรงงานต่างด้าวภายใต้ MOU สัญชาติลาวและกัมพูชา กกจ.ตรวจสอบและส่งคำร้องไปยังประเทศต้นทาง โดยผ่านช่องทางการทูต นายจ้างยื่นขอโควตา/ยื่นคำร้องขอนำเข้าแรงงานต่างด้าว ณ สจจ./สจก. ประเทศต้นทางคัดเลือกแรงงานและจัดส่งรายชื่อ (Name list)ให้กับนายจ้าง นายจ้างนำรายชื่อไปขออนุญาตทำงานแทนคนต่างด้าวที่ สจจ.สจก. (ระบุด่านฯ) นายจ้างนำแรงงานต่างด้าวเดินทางเข้าประเทศไทย/ตรวจสุขภาพ/ขอรับใบอนุญาตทำงาน ณ สจจ./สจก. สจจ./สจก.ส่งรายชื่อให้ กกจ.รับรอง/ออกหนังสือแจ้งสถานทูตไทยในประเทศต้นทางเพื่อพิจารณาตรวจลงตราวีซ่าและแจ้ง ตม. เพื่ออนุญาตให้แรงงานต่างด้าวเดินทางเข้าประเทศไทย MOU

  8. ขั้นตอนการนำเข้าแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าขั้นตอนการนำเข้าแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า นายจ้างยื่นขอโควตา/ยื่นคำร้อง ณ สจจ./สจก.(ระบุด่านนำเข้า) กกจ.ตรวจสอบ/ส่งคำร้องไปยังทางการพม่า นายจ้างนำรายชื่อ (Name list)ไปยื่นยืนยันที่ กจจ. ทางการพม่าคัดเลือกแรงงานและส่งรายชื่อให้กับนายจ้าง กกจ.รับรองรายชื่อ/แจ้งยืนยันไปยังทางการพม่า/แจ้งตม.เพื่อประทับตราวีซ่า/แจ้ง สจจ./สจก. นายจ้างนำแรงงานเดินทางเข้าปท./นำแรงงานตรวจสุขภาพ/ไปยื่นขออนุญาตทำงานที่ สจจ./สจก. MOU

  9. ขั้นตอนการนำเข้าแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าขั้นตอนการนำเข้าแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า • นายจ้างแจ้งความต้องการจ้างแรงงานต่างด้าว(ขอโควตา)และยื่นคำร้องขอนำเข้า ณ สจจ./สจก. ในท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่ • สจจ./สจก. ส่งคำร้องไปยังกรมการจัดหางาน • กรมการจัดหางาน ส่งคำร้องไปยังทางการพม่าโดยผ่านสถานทูตพม่าประจำประเทศไทย • นายจ้างเมื่อได้รับบัญชีรายชื่อจากทางการพม่า ให้นำไปยื่นที่ กกจ. เพื่อรับรองบัญชีรายชื่อ และขอรับหนังสือยืนยันการจ้างแรงงานต่อทางการพม่า และหนังสือแจ้ง ตม.เพื่อขอประทับตราวีช่าNon Immigrant L-A และขออนุญาตเดินทางเข้าประเทศไทย นายจ้างนำแรงงานต่างด้าวเดินทางเข้าประเทศไทย นำไปตรวจสุขภาพและไปยื่นขออนุญาตทำงาน ณ สจจ./สจก. ที่ได้ยื่นคำร้องไว้ MOU

  10. ด่านตรวจคนเข้าเมือง MOU

  11. ทางการพม่าแจ้งนโยบายการพิจารณาคำร้องในปัจจุบันทางการพม่าแจ้งนโยบายการพิจารณาคำร้องในปัจจุบัน การประชุมหารือระหว่างผู้แทนทางการพม่ากับผู้แทนกรมการจัดหางาน เมื่อ 30 พฤษภาคม 2557 ทางการพม่าแจ้งนโยบายการพิจารณาคำร้อง ดังนี้ 1. การขอจ้างแรงงานหญิงจะต้องไม่ต่ำกว่า 5 คน 2. ไม่จำกัดจำนวนสำหรับการขอจ้างแรงงานชายต่อครั้ง 3. ไม่อนุญาตให้ทำงานในตำแหน่งงานบ้าน 4. ไม่อนุญาตนายจ้างที่เป็นบุคคลธรรมดา 5. จำนวนการขอนำเข้าในแต่ละคำร้องจะต้องไม่เกิน 400 คน 6. การขอนำเข้าต่อไปนี้จะต้องมีหนังสือรับรองจากกรมการจัดหางาน (1) นำแรงงานไปทำงานในท้องที่จังหวัดภาคใต้ (2) ขอนำเข้าเกิน 200 คน (3) ขอนำเข้ามาทำงานในกิจการจ้างเหมาแรงงาน MOU

  12. การขอหนังสือรับรองจากกรมการจัดหางานการขอหนังสือรับรองจากกรมการจัดหางาน • นายจ้างจัดทำหนังสือรับรองตนเองพร้อมแนบหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ร้องขอไปยังอธิบดีกรมการจัดหางาน • จัดส่งหนังสือไปพร้อมกับคำร้องขอนำเข้าแรงงานต่างด้าว • กรณีขอหนังสือรับรองย้อนหลัง ให้แนบสำเนาหนังสือนำส่งคำร้องไปยังสถานทูตพม่าประกอบด้วย MOU

  13. ข้อมูลที่จะต้องระบุในหนังสือขอรับรองข้อมูลที่จะต้องระบุในหนังสือขอรับรอง • กรณีจ้างเหมาแรงงานหรือขอเกิน 200 คน 1) ระบุชื่อสถานประกอบการ/นายจ้าง.. ประเภทกิจการ.. ที่อยู่ ..จำนวนแรงงานที่ขอนำเข้ามาครั้งนี้.. เพื่อไปทำงาน ณ (โครงการ/สถานที่) ตามสัญญา.. 2) บริษัท..ขอรับรองว่าจะนำแรงงานต่างด้าวจำนวน..คน ไปทำงานที่..จริง จึงขอความอนุเคราะห์ท่านออกหนังสือรับรองให้กับบริษัทฯ เพื่อใช้ยื่นประกอบการพิจารณานำเข้าแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ตามหลักฐานที่แนบมาพร้อมนี้ • กรณีรับรองการเข้ามาทำงานในท้องที่จังหวัดภาคใต้ 1) ระบุชื่อสถานประกอบการ....ประเภทกิจการ...ที่อยู่..มีความประสงค์จะนำแรงงานต่างด้าวจำนวน..คน เพื่อเข้ามาทำงานในท้องที่จังหวัด.. 2) บริษัท..ขอรับรองว่าแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า จำนวน..คน จะได้รับสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ตามกฎหมายทุกประการ จึงขอความอนุเคราะห์ท่านออกหนังสือรับรองให้กับบริษัทฯ เพื่อใช้ยื่นประกอบการพิจารณานำเข้าแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ตามหลักฐานที่แนบมาพร้อมนี้ MOU

  14. เอกสารประกอบการยื่นคำร้องขอนำเข้าแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าเอกสารประกอบการยื่นคำร้องขอนำเข้าแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า • หนังสือแสดงความต้องการแรงงาน (Demand Letter) • หนังสือแต่งตั้งพร้อมแนบสำเนาใบอนุญาต (Agency Licence) • สัญญาจ้างแรงงาน (Employment Contract) • สำเนาหนังสือแจ้งผลการอนุญาตให้จ้างแรงงานต่างด้าว (โควตา) • สำเนาหนังสือยืนยันการจ้างแรงงานต่างด้าว • เอกสารนายจ้าง • เอกสารการมอบอำนาจ (ถ้ามี) • หนังสือยืนยันการนำเข้าแรงงานต่างด้าวภายใต้ MOU • หนังสือขอให้ออกหนังสือรับรองการนำเข้าแรงงานต่างด้าว (ถ้ามี) MOU

  15. เอกสารประกอบการยื่นบัญชีรายชื่อ (Name list) • หนังสือนำส่งและบัญชีรายชื่อแรงงานต่างด้าวจากทางการพม่า ที่มีการรับรองโดยสถานทูตพม่า • สำเนาหนังสือนำส่งคำร้องของกรมการจัดหางาน • สำเนาหนังสือโควตา • สำเนาหนังสือแต่งตั้งและสำเนาใบอนุญาต (Agency Licence) • เอกสารนายจ้าง • เอกสารการมอบอำนาจ (ถ้ามี) MOU

  16. ผู้ที่ดำเนินการยื่นขอนำเข้าแรงงานต่างด้าวภายใต้ MOU • นายจ้างดำเนินการด้วยตนเอง • นายจ้างมอบอำนาจให้พนักงานในสถานประกอบการ - แนบหลักฐานการเป็นพนักงาน • นายจ้างมอบอำนาจให้ตัวแทนจัดหางานที่จดทะเบียนถูกต้องเป็นผู้ดำเนินการ – แนบสำเนาใบอนุญาตจัดหางาน (จง.3)และสำเนาบัตรประชาชน MOU

  17. การเปลี่ยนนายจ้างของแรงงานต่างด้าวที่เข้ามาทำงานภายใต้ MOU ตามข้อตกลงในการประชุมหารือระหว่างประเทศคู่ภาคี แรงงานต่างด้าว ไม่สามารถเปลี่ยนนายจ้างได้ ยกเว้น ภายใต้เงื่อนไข 4 กรณี คือ 1. นายจ้างตาย 2. นายจ้างล้มละลาย 3. นายจ้างทำร้ายร่างกายลูกจ้าง 4. นายจ้างไม่ปฏิบัติตามสัญญาจ้างแรงงาน MOU

  18. ตัวแทนจัดหางานของประเทศต้นทางที่ได้รับอนุญาตตัวแทนจัดหางานของประเทศต้นทางที่ได้รับอนุญาต • ลาว จำนวน 13 บริษัท • กัมพูชา จำนวน 43 บริษัท • พม่า จำนวน 64 บริษัท (เดิม 66 ยกเลิกชั่วคราว 2 บริษัท คือ หมายเลข 44 Htoo Thit Zae Co.,Ltd และหมายเลข 64Silver Crane Services Co.,Ltd) MOU

  19. การตรวจสุขภาพของแรงงานต่างด้าวการตรวจสุขภาพของแรงงานต่างด้าว • กฎกระทรวง พ.ศ. 2552 กำหนดลักษณะต้องห้ามของคนต่างด้าวซึ่งจะขอรับใบอนุญาตทำงาน ไว้ ดังนี้ 1) ไม่เป็นบุคคลวิกลจริตหรือมีจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ 2) ไม่เป็นผู้เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อน วัณโรคในระยะอันตราย โรคเท้าช้าง โรคติดยาเสพติดให้โทษ โรคพิษสุราเรื้อรัง โรคซิฟิลิสในระยะที่ ๓ • กฎกระทรวง พ.ศ. 2554 กำหนดให้ใบรับรองแพทย์ ออกโดยผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เมื่อสิงหาคม ๒๕๕๖ ให้หน่วยบริการ หรือสถาน พยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ดำเนินการตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว MOU

  20. สาขาอาชีพที่ไทยได้จัดทำข้อตกลงร่วมกับสมาชิกอาเชียนASEAN Mutual Recognition Arrangements : MRAs ซึ่งมีผลในปี 2558 คือ • วิศวกรรม - ขึ้นทะเบียนเป็นวิศวกรวิชาชีพ • การสำรวจ - ขึ้นทะเบียนใบอนุญาตนักสำรวจ จากสภาวิศวกร • สถาปัตยกรรม - มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม จากสภาสถาปนิก • แพทย์ - มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ จากแพทยสภา • ทันตแพทย์ - มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทันตแพทย์ จากทันตแพทยสภา • พยาบาล - มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ จากสภาการพยาบาล • บัญชี - ได้รับอนุญาตและขึ้นทะเบียนวิชาชีพบัญชี จากสภาวิชาชีพบัญชี • สาขาบริการและการท่องเที่ยว (มี 32 ตำแหน่ง) MOU

  21. หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อหมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ ฝ่ายจัดระบบการนำเข้าแรงงานต่างด้าวตาม MOU โทร. 02 354 1763 02 354 1768 FAX : 02 354 1723 e-mail : mou1763@gmail.com MOU

  22. คำถาม - คำตอบ สวัสดีค่ะ MOU

More Related