1 / 290

Plant Growth Development

Plant Growth Development. A N D. การเติบโต ( Growth ). เป็นการเปลี่ยนแปลงซึ่งเกิดจากการสร้าง protoplasm เพิ่มขึ้น เป็นการเปลี่ยนแปลงทาง ด้านปริมาณ (quantitative) มีการเพิ่มขนาดและ น้ำหนักของพืชอย่างถาวรคืนกลับไม่ได้ (irreversible)

arvin
Download Presentation

Plant Growth Development

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Plant Growth Development A N D

  2. การเติบโต( Growth ) เป็นการเปลี่ยนแปลงซึ่งเกิดจากการสร้าง protoplasmเพิ่มขึ้น เป็นการเปลี่ยนแปลงทาง ด้านปริมาณ (quantitative)มีการเพิ่มขนาดและ น้ำหนักของพืชอย่างถาวรคืนกลับไม่ได้ (irreversible) การเติบโตจะเกี่ยวข้องกับกระบวนการ anabolism

  3. การเติบโต หมายรวมถึง การเพิ่มขนาดโดยการแบ่งเซลล์(Cell division) การขยายขนาด(Cell enlargement) การยืดยาวของ Cell (Cell elongation)

  4. การวัดการเติบโต คำนวณอัตราการเติบโตจาก 1. อัตราเร็วของการเติบโต 2. ความสามารถในการเติบโต

  5. Mohr and Schopfer (1995) ลักษณะที่ใช้ในการพิจารณาว่าสิ่งมีชีวิต มีการเติบโต คือ 1. มีการเพิ่มขนาดของความยาว 2. มีการเพิ่มขนาดของเส้นผ่าศูนย์กลาง 3. มีการเพิ่มขนาดของปริมาตร

  6. Mohr and Schopfer (1995) 4. มีการเพิ่มขนาดของจำนวนเซลล์ 5. มีการเพิ่มน้ำหนักสด 6. มีการเพิ่มน้ำหนักแห้ง 7. มีการเพิ่มปริมาณโปรตีน 8. มีการเพิ่มปริมาณของ DNA

  7. การวัดการเติบโต 1. Length 2. Diameter 3. Volume 4. Cell number 5. Fresh matter 6. Dry matter 7. Amount of protein 8. Amount of DNA

  8. การเจริญ ( development ) เป็นการเปลี่ยนแปลงทางรูปร่าง(form)ของพืช เป็นผลเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงแบบแผนของ การเติบโต(growth pattern)ซึ่งเกิดจากกระบวน การmetabolismของเซลล์ เป็นผลทำให้เกิด cell differentiationทำให้เกิดรูปร่างที่แน่นอน (morphogenesis)เป็นการเปลี่ยนแปลงทางด้าน คุณภาพ(qualitative)

  9. ในวงชีวิตของพืช (life cycle) การเติบโตและการเจริญ จะเกิดขึ้นพร้อมๆ กัน แยกกันลำบาก

  10. ขั้นตอนของการเจริญ 1. Cell division 2. Growth 3. Differentiation 4. Pattern formation 5. Morphogenesis

  11. การแบ่งเซลล์ (cell division) ทำให้มีการเพิ่มจำนวนเซลล์ในพืช การแบ่งเซลล์จะเกิดบริเวณเนื้อเยื่อเจริญ (meristematic tissue)

  12. การเติบโต (growth) เป็นการเพิ่มจำนวนเซลล์ ขนาดและน้ำหนัก (Cell multiplication and enlargement) การเติบโตทำให้เซลล์มีขนาดใหญ่ขึ้น

  13. การขยายขนาดของเซลล์ เป็นผลเนื่องมาจาก การดูดน้ำเข้าไปในVacuole แล้วเกิดแรงดันน้ำภายในเซลล์ ดันในเซลล์ขยายขนาด

  14. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง รูปร่าง และหน้าที่ของเซลล์ (differentiation) การที่เซลล์มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง และหน้าที่ของเซลล์เพื่อทำหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่ง

  15. อาจกล่าวว่า differentiation เกิดจากการที่ embryonic cellที่มีความสามารถ ที่จะแบ่ง ตัวได้ (competent) เกิดการเปลี่ยนแปลง จนได้เซลล์ที่เจริญเต็มที่

  16. การสร้างแบบแผนของการเจริญการสร้างแบบแผนของการเจริญ (Pattern formation) เพื่อให้เป็นรูปร่างต่างๆ เช่น การเปลี่ยนแปลง โครงสร้างและรูปร่างของเซลล์ที่จะเจริญไป เป็นผลไม้ซึ่งมีรูปร่างต่างๆ

  17. การเจริญและพัฒนาเป็นรูปร่างที่แน่นอนการเจริญและพัฒนาเป็นรูปร่างที่แน่นอน (morphogenesis) Morphogenesis ประกอบด้วย morpheมาจากภาษากรีก แปลว่า form generareมาจากภาษาลาติน แปลว่า create (การสร้าง)

  18. analytical growth (system becomes larger) Phenomenological term: (parts, e.g. cells, become different) differentiation development (non-random arrangement of elements, e.g. cells) pattern formation (development of specific form shape) morphogenesis

  19. วงชีวิตของพืช (life cycle of plants) life cycle of plants แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ 1. Vegetative stages เป็นระยะการเจริญเติบโต ของราก ลำต้น และใบ 2. Reproductive stages เป็นระยะการเจริญเติบ โตของอวัยวะที่มีหน้าที่ในการสืบพันธุ์

  20. Life cycle of Plant Alternation of generation - haploid phase (gametophytic generation) - diploid phase (sporophytic generation)

  21. Germinnation Fertilisation Differentiation Dormacy Maturation Dehydration Germinnation

  22. การเปลี่ยนแปลงของพืชในวงจรชีวิตการเปลี่ยนแปลงของพืชในวงจรชีวิต 1. ระยะ juvenile 2. ระยะ transition stage 3. ระยะ maturity 4. ระยะsenescence

  23. ระยะ juvenile คือระยะวัยอ่อน ระยะ transition stage คือ ระยะที่ต่อระหว่างระยะวัยอ่อน กับระยะที่เจริญเต็มที่ (maturity)

  24. ระยะ maturity คือ ระยะที่พืชเจริญเต็มที่ พืชมีการเปลี่ยนแปลง ทางด้านลำต้น(vegetative) น้อยมีการเปลี่ยน แปลงทางด้านการสืบพันธุ์(reproductive)มาก

  25. ระยะ senescence เป็นระยะที่มีพืชแก่ และในที่สุดเซลล์ และเนื้อเยื่อจะตาย

  26. ชนิดของการเติบโต การเติบโตของพืช จะเกิดบริเวณเนื้อเยื่อเจริญ ซึ่งเป็นบริเวณที่เซลล์มีความสามารถ ในการแบ่งตัว

  27. ชนิดของการเจริญเติบโตมี 2 แบบคือ 1. Tip growth 2. diffuse growth

  28. Tip growth เป็นการเติบโตของroot hair rhizoids,pollen tube และhyphae ของเชื้อรา โดยมีการเกิดapical dome ที่ปลายของcell

  29. Diffuse growth เป็นการเติบโตของ multicellularorgan ซึ่งจะมีการขยายขนาดของส่วนพื้นผิวทุกด้าน ของผนังเซลล์

  30. ทิศทางการแบ่งตัวของ cell 1. Periclinal division 2. Anticlinal division 3. Radial 4. tangential

  31. ทิศทางการแบ่งตัวของ cell periclinal division การแบ่งตัวของเซลล์พืช ในแนวระนาบที่ขนานกับระนาบ ผิวของพืช

  32. ทิศทางการแบ่งตัวของ cell anticlinal division การแบ่งตัวในแนวตั้งฉาก กับระนาบผิวของพืช

  33. ทิศทางการแบ่งตัวของ cell tangential การแบ่งตัวในแนวเส้นสัมผัส หรือตั้งฉากกับรัศมี

  34. ทิศทางการแบ่งตัวของ cell และทิศทางการขยายขนาดของ cell มีผลต่อโครงสร้างของพืช ตัวอย่างการแบ่ง cellของ cambiumจะมีการแบ่งตัวในแนว periclinalซึ่งจะทำได้ต้นพืชมีความหนาเพิ่มขึ้น

  35. ถ้ามีการแบ่งตัวในแนวradialถ้ามีการแบ่งตัวในแนวradial ทำให้เส้นรอบวงของชั้นcambium มีขนาดเพิ่มขึ้น

  36. การเรียงตัวของ cellulose microfibril รูปร่างของเซลล์พืช จะถูกกำหนดโดยทิศทางการเรียงตัวของcellulose microfibril ในcell wall cellulose microfibril เป็นตัวกำหนดทิศทางการเติบโต

  37. การเรียงตัวของ cellulose microfibril - random - transverse - longitudinal

  38. การเรียงตัวของ cellulose microfibril แบบ random ทำให้เซลล์มีทิศทางการขยายขนาดออกไปทุกทิศทางในที่สุดจะได้ลักษณะ เป็นวงกลม

  39. การเรียงตัวของ cellulose microfibril แบบตามขวาง ทำให้มีการขยายขนาดทางด้านข้างหรือด้านสูง จะไม่มีการขยายขนาดตามยาว

  40. การเรียงตัวของ cellulose microfibril แบบตามยาว จะทำให้เซลล์ เจริญออกทางด้านข้าง

  41. นอกจากทิศทางการเรียงตัวของcellulose microfibrilจะเป็นตัวกำหนดทิศทางการขยายขนาดของcellแล้วฮอร์โมนก็มีส่วนเกี่ยวข้องด้วย เช่นethyleneและGAจะมีผลตรงข้ามต่อการเรียงตัวของcellulase microfibril

More Related