1 / 60

การวางแผนยุทธศาสตร์สุขภาพ

การวางแผนยุทธศาสตร์สุขภาพ. อริยะ บุญงามชัยรัตน์ , DrPH , MHSA กองแผนงาน กรม ควบคุมโรค. กรอบการเรียนรู้. ทำไมต้องวางแผน การตอบสนองของแผน บริบทของสาธารณสุข แผนยุทธศาสตร์ Vs แผนปฏิบัติการ ข้อมูลเพื่อการวางแผน แนวทางการวิเคราะห์เพื่อการจัดทำแผน. ทำไมต้องวางแผน. planning.

Download Presentation

การวางแผนยุทธศาสตร์สุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวางแผนยุทธศาสตร์สุขภาพการวางแผนยุทธศาสตร์สุขภาพ อริยะ บุญงามชัยรัตน์, DrPH, MHSA กองแผนงาน กรมควบคุมโรค

  2. กรอบการเรียนรู้ • ทำไมต้องวางแผน • การตอบสนองของแผน บริบทของสาธารณสุข • แผนยุทธศาสตร์ Vs แผนปฏิบัติการ • ข้อมูลเพื่อการวางแผน • แนวทางการวิเคราะห์เพื่อการจัดทำแผน

  3. ทำไมต้องวางแผน

  4. planning

  5. Source: Brian Hill, 2013

  6. แผน กับการแก้ปัญหาสาธารณสุข

  7. Two Tiers Concept: Individual Health Medicine Curative (การแพทย์) ( รักษา ) The Best Community Health Public Health Prevention ( การสาธารณสุข ) ( ป้องกัน ) The Most

  8. The Excellent Organization • Leadership • Strategic Planning • Team working • HRD (Human Resources Development) • Knowledge Management & Learning Organization • Tools & Technologies • Others

  9. Source of Knowledge Data Information Knowledge Wisdom ข้อมูลดิบ ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ ภูมิปัญญา Context : Operation Purpose : Processing Context : Managerial Purpose : Decision Making Context : Strategy Purpose : Setting Direction Imagination จินตนาการ

  10. แนวคิดในการจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ฉบับที่ 11 บริบทที่เปลี่ยนแปลง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลการประเมิน แผนฯ 10 แผนฯ 11

  11. แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (ต่อ) วิสัยทัศน์ “ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี ร่วมสร้างระบบสุขภาพพอเพียง เป็นธรรม นำสู่สังคมสุขภาวะ” พันธกิจ พัฒนาระบบสุขภาพพอเพียงโดยยึดหลักธรรมาภิบาล สร้างภูมิคุ้มกันต่อภัยคุกคาม และสร้างเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน รวมถึงการใช้ภูมิปัญญาไทย ที่มา: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข

  12. แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (ต่อ) เป้าประสงค์ 1. ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่น และภาคีเครือข่าย มีศักยภาพและสามารถสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค ลดการเจ็บป่วยจากโรคที่ป้องกันได้หรือโรคที่เกิดจากพฤติกรรม มีการใช้ภูมิปัญญาไทยและมีส่วนร่วมจัดการปัญหาสุขภาพของตนเองและสังคมได้ 2. ระบบสุขภาพเชิงรุกที่มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค มีระบบภูมิคุ้มกัน ที่มีความไวเพียงพอในการเตือนภัย และจัดการปัญหาภัยคุกคามสุขภาพได้ 3. ระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน สามารถตอบสนองต่อความต้องการตามปัญหาสุขภาพ และมีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ให้และผู้รับบริการ 4. ระบบบริหารจัดการสุขภาพและการเงินการคลังที่มีเอกภาพและมีประสิทธิภาพ ที่มา: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข

  13. ยุทธศาสตร์ที่ 1 : เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีสุขภาพในการสร้างสุขภาพ ตลอดจนการพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพบนพื้นฐานภูมิปัญญาไทย ยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาระบบเฝ้าระวัง เตือนภัย และการจัดการภัยพิบัติและภัยสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 3 : มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกัน ควบคุมโรค และคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ เพื่อให้คนไทยแข็งแรงทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และปัญญา ยุทธศาสตร์ที่ 4 : เสริมสร้างระบบบริการสุขภาพให้มีมาตรฐานในทุกระดับเพื่อตอบสนองต่อปัญหาสุขภาพในทุกกลุ่มเป้าหมาย และพัฒนาระบบส่งต่อที่ไร้รอยต่อ ยุทธศาสตร์ที่ 5 : สร้างกลไกกลางระดับชาติในการดูแลระบบบริการสุขภาพ และพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ

  14. ระบบการดำเนินงานบริการสาธารณสุขระบบการดำเนินงานบริการสาธารณสุข ระดับนโยบาย ส่วนกลางกับระดับปฏิบัติ ส่วนกลางกับระดับชุมชน ระดับปฏิบัติ ระดับปฏิบัติกับระดับชุมชน ระดับชุมชน ที่มา: ปรับจาก M&E PP สุริยะ วงศ์คงคาเทพ (2554)

  15. ระบบการดำเนินงานบริการสาธารณสุขระบบการดำเนินงานบริการสาธารณสุข ระดับส่วนกลาง สปสช. กสธ. หน่วยงานอื่น เขต สปสช. เขตสุขภาพ ระดับปฏิบัติ จังหวัด/อำเภอ/ตำบล อปท. องค์กรชุมชน ระดับชุมชน ที่มา: ปรับจาก M&E PP สุริยะ วงศ์คงคาเทพ (2554)

  16. การตอบสนองของแผน นโยบาย ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด ประเทศ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด (บูรณาการแผนทุกภาคส่วน) สภาพปัญหาในพื้นที่ ที่มา: ปรับจาก M&E PP สุริยะ วงศ์คงคาเทพ (2554)

  17. แผนบูรณาการเชิงรุก แผนยุทธศาสตร์ เห็นทิศทางในภาพรวม เน้นปัญหาสำคัญ แผนแก้ปัญหา จัดกลุ่มปัญหา / บูรณาการ แต่ละปัญหามีกลยุทธ์ / มาตรการชัดเจน แผนปฏิบัติการ มาตรการชัดเจน งบประมาณตามกิจกรรม กิจกรรม ที่มา: M&E PP สุริยะ วงศ์คงคาเทพ (2554)

  18. แผนยุทธศาสตร์ VS แผนปฏิบัติการ

  19. Level of Plan • Policy • Strategic Plan • Action (Operational) Plan • Program • Project Corporate vs Unit Plan

  20. Planning Measurement แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน (4 ปี) Corporate Scorecard เป้าประสงค์ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์รัฐบาล • แผนปฏิบัติราชการ (4 ปี) • กระทรวง/กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด • Strategic Business Unit Scorecard • กระทรวง/กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด เป้าประสงค์ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์กระทรวง/กรม ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด • แผนปฏิบัติราชการ (รายปี) • กระทรวง กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด Sub-unit Scorecard Team & Individual Scorecard Budgeting

  21. Result-Based Management ผลสัมฤทธิ์ RESULTS วัตถุประสงค์ OBJECTIVES ปัจจัยนำเข้า INPUT กิจกรรม PROCESS ผลผลิต OUTPUT ผลลัพธ์ OUTCOMES EFFICIENCY: ประสิทธิภาพ EFFECTIVENESS : ประสิทธิผล

  22. Management process Monitoring Planning Implementation Evaluation Control

  23. KPI Impact Outcome Output Where will we want to be: Vision Goal Objective Target 2 4 How do we know where we are How do we get there: Mission Strategy Tactic Activity 3 Process Where are we now: Situation analysis 1

  24. Vision • How excellent of our • Products and Services Hierarchy of Purpose • What is the final effect • (How does it look like) Goal Objective • What is the effect at the • operation level (Output) • What is the amount • of effect at the • operational level that can • be measured Target

  25. Mission • The main final products • and services Hierarchy of Action • The overall plan of • well integrated • measures/actions Strategy Tactic • The measure used to • achieve the target • The daily operations, • frontline actions Activity

  26. Vision Action Plan 1. A 2. B 3. C 4. D Objective 1 Goal 1 Strategy 1 Goal 2 Objective 1 2 Action Plan 5. A 6. B 7. C Strategy 2 Mission Objective 1 2 Goal 3 Strategy 3 Action Plan 8. A 9. B 10. C Objective 1 2 3 Goal 4

  27. Vision วิสัยทัศน์ สิ่งที่อยากจะให้หน่วยงานเป็น ในอีก 3 – 5 ปีข้างหน้า Mission พันธกิจ กรอบ ขอบเขต การดำเนินงานของหน่วยงาน Strategic Issues ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นหลักต้องคำนึงถึง ต้องพัฒนา ต้องมุ่งเน้น Goal เป้าประสงค์ อะไรคือสิ่งที่หน่วยงานอยากจะบรรลุ Key Performance Indicators ตัวชี้วัด สิ่งที่จะเป็นตัวบอกว่าหน่วยงานสามารถบรรลุเป้าประสงค์หรือไม่ Target เป้าหมาย ตัวเลข หรือ ค่า ของตัวชี้วัด ที่จะต้องไปให้ถึง Strategy กลยุทธ์ สิ่งที่หน่วยงานจะทำ เพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ นิยามศัพท์

  28. MISSION VS. VISION

  29. ขั้นตอนการวางแผนกลยุทธ์ขั้นตอนการวางแผนกลยุทธ์ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมขององค์กร (SWOT analysis) การกำหนดทิศทางในอนาคตขององค์กร (Mission & Vision) การกำหนดกลยุทธ์ขององค์กร (Strategic Direction) การกำหนดปัจจัยแห่งความสำเร็จและตัวชี้วัดหลัก (Key Success Factor / Key Performance Indicator)

  30. รายละเอียดขั้นตอนพื้นฐานในการวางแผนยุทธศาสตร์รายละเอียดขั้นตอนพื้นฐานในการวางแผนยุทธศาสตร์ ขั้นเตรียมการ ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 4 การกำหนดแผนปฏิบัติการ การวิเคราะห์ศักยภาพของหน่วยงาน และปัจจัยแวดล้อม การจัดทำวิสัยทัศน์เป้าประสงค์ และประเด็นยุทธศาสตร์ การกำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาหน่วยงาน การเตรียมการ • ปัจจัยภายใน • - จุดแข็ง/จุดออ่อน • ปัจจัยภายนอก • - โอกาส/อุปสรรค • จัดตั้งคณะทำงาน • รวบรวมข้อมูล • วิเคราะห์ศักยภาพ • ต้องการเป็นอะไร • มีเป้าหมายอย่างไร • มีประเด็นทางยุทธศาสตร์อะไรที่ต้องการการพัฒนา ทำสิ่งใดบ้าง เพื่อให้ผลการดำเนินงาน บรรลุวิสัยทัศน์และเป้าหมายที่กำหนด การนำยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ ด้วยการจัดทำแผนงาน/โครงการ

  31. การวิเคราะห์ศักยภาพของหน่วยงาน (SWOT Analysis)

  32. MC KINSEY’S 7-S วิเคราะห์ S & W STRUCTURE SYSTEMS STRATEGY SHARED VALUES SKILL STYLE STAFF (SPECIALIST)

  33. วิเคราะห์ O&T โดยใช้ PEST-HE Analysis P = Politics นโยบาย/กฎเกณฑ์ของรัฐบาล E = Economics เศรษฐกิจ S = Socio-cultural สังคม/วัฒนธรรม T = Technology วิทยาการแขนงต่าง ๆ H = Health สุขภาวะ E = Environment สิ่งแวดล้อม

  34. คุณสมบัติที่ดีของ SWOT Analysis • มีความเชื่อมโยงกับกรอบนโยบายรัฐบาลและวาระแห่งชาติ • แสดงถึงลักษณะเฉพาะตัวของหน่วยงาน ทั้งในแง่จุดอ่อนและจุดแข็งซึ่งสามารถเป็นพื้นฐานประเด็นในการพัฒนา • สะท้อนถึงปัญหาและความต้องการของบุคลากรในหน่อยงาน • เป็นข้อเท็จจริง มีข้อมูลสนับสนุน ไม่ใช่ความคิดเห็น • คำนึงถึงสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนไป (Outside-in) • มีความสมดุลระหว่างการวิเคราะห์ภายนอกและการวิเคราะห์ภายใน

  35. ปัจจัยสู่ความสำเร็จในการวางแผนยุทธศาสตร์ปัจจัยสู่ความสำเร็จในการวางแผนยุทธศาสตร์ • การสนับสนุนของผู้บริหารระดับสูง • การมีหน่วยงานรับผิดชอบชัดเจน • ความเข้าใจในหลักการและแนวคิด • การสื่อสารภายใน • ความต่อเนื่อง • การเก็บข้อมูล พร้อมระบบที่รองรับ • ใข้ระบบการประเมินผลที่เน้นในเรื่องของการพัฒนา/ปรับปรุงองค์กร • เป็นส่วนหนึ่งของระบบการบริหารจัดการองค์กรและการถ่ายระดับสู่การปฏิบัติ

  36. ข้อมูลเพื่อการวางแผน

  37. Good Health Information • Accurate • Coverage • Update • Appropriate

  38. Type of Health Information • Health Status • Demography • Vital Statistic • Disease Burden • Health Services • Health Financing • Health Resources • Health manpower • Health facility • Budgeting

  39. Steps of getting information • Health Data Collection • Primary/Secondary • Health Data Summarization • Issue Specific • Health Data Analysis • Health Data Presentation • Content & Form

  40. แนวทางการวิเคราะห์เพื่อการจัดทำแผนแนวทางการวิเคราะห์เพื่อการจัดทำแผน

  41. Identifying Plan of Action • Goal setting • Need identifying • Situation Analysis • Gap analysis • Strategy champions • Action Plans Strategic Objective • Statistics • Progress • Benchmark Strategy • Budget • Time • Manpower • IT KRI/ KPI • Necessity • Method • Process • Present burden of problem • Severity of problem • Ease of management orFeasibility • Public perception • Social & economic impact

  42. Strategic formulation • Situation analysis • Gap analysis • Problem prioritization

  43. Frame for gap analysis • Targeting => provinces, districts, settings • Backbone infrastructure: • Information system & mechanism • Manpower • Strategic approaches • Strategic partners & agencies: number, skillfulness • Products & Services: • Intervention (KM, HTA); innovation (MD), standard • Public communication: segmented groups • Public health emergency response (if needed) • M&E: tool, frequency

  44. การจัดลำดับความสำคัญของปัญหาโรคและภัยสุขภาพ (1) ขนาดของปัญหา (Present burden of problem) (2) ความรุนแรงของปัญหา (Severity of problem) (3) ความยากง่ายในการแก้ปัญหา (Ease of management orFeasibility) (4) ความตระหนัก (Public perception) (5) ผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคม (Social & economic impact)

  45. กรณีตัวอย่าง เด็กหญิงเมียง อายุ 4 ขวบ วิ่งเล่นในหมู่บ้านแถบชานเมือง ขณะวิ่งเล่นกับเพื่อน ได้วิ่งไปเหยียบถูกตะปูที่อยู่ในเศษไม้ บริเวณก่อสร้างที่อยู่ใกล้ๆ เด็กหญิงเมียงวิ่งร้องไห้มาหาแม่ แม่ของเด็กหญิงห้ามเลือด ล้างแผลให้ด้วยน้ำแล้วพันผ้าไว้โดยไม่ได้พาไปหาหมอ หนึ่งสัปดาห์ต่อมาแผลไม่หาย แต่กลับเกิดอาการติดเชื้อและอักเสบรุนแรง เด็กหญิงมีไข้ขึ้นสูงและอาการแย่ลงมาก แม่จึงต้องพาไปโรงพยาบาลด้วยอาการวิกฤติ วันถัดมาเด็กหญิงเมียงก็เสียชีวิต จากสถิติของหมู่บ้านนี้ มีคนจำนวนมากกว่า 10 รายต่อปี ที่เกิดอาการเป็นแผลติดเชื้ออย่างรุนแรง และต้องตายเนื่องจากแผลติดเชื้อดังกล่าว พิจารณาปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุของการตายของเด็กหญิงเมียง ???

  46. ปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุของการตายของเด็กหญิงเมียงปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุของการตายของเด็กหญิงเมียง • เด็กหญิงอยู่ในหมู่บ้านที่ยากจน/เป็นต่างด้าว พ่อแม่ทำงาน ปล่อยให้วิ่งเล่นและไม่ได้ดูแลให้ใส่รองเท้า/ไม่มีรองเท้า (ด้านเศรษฐกิจ) • ในหมู่บ้านไม่มีสนามเด็กเล่นที่ปลอดภัย (ด้านสิ่งแวดล้อม) • แม่ของเด็กขาดความรู้ ในการปฐมพยาบาลและการจัดการกับแผลอย่างถูกวิธี (การศึกษา) • การไม่สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพ (ระบบบริการสุขภาพ) • การไม่ใส่ใจกับการจัดการกับเศษไม้ ขยะ (วิถีชีวิต/พฤติกรรมความเคยชิน) • ฯลฯ

  47. สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์สถานการณ์ของพื้นที่สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์สถานการณ์ของพื้นที่ • กำหนดกรอบการวิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพ • การวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อการวิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพ • ถูกต้อง แม่นตรง น่าเชื่อถือ (แหล่งที่มา) • ครอบคลุม ครบถ้วน • เป็นปัจจุบัน • เหมาะสมกับการใช้งาน • จัดลำดับความสำคัญ • นำประเด็นปัญหามาวิเคราะห์เชื่อมโยง สาเหตุปัญหาและผลกระทบ นำไปสู่แนวทางการพัฒนา

  48. ทิศทางนโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2558

  49. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 • เป้าหมายระยะ 10 ปี • อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี • 2. อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 72 ปี นโยบายหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ขจัดคอรัปชั่นเวลา การแพทย์ทางเลือก เข้าถึงบริการอย่าง เท่าเทียม ปรองดองสมานฉันท์ เชิงรุก ยุทธศาสตร์บูรณาการ 4 ระบบ ยุทธศาสตร์บูรณาการ 5 กลุ่มวัย กรมการแพทย์ ควบคุมโรค 1.กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 1.ระบบบริการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข แพทย์แผนไทย สุขภาพจิต 2.กลุ่มเด็กวัยเรียน 2.ระบบควบคุมโรค 3.กลุ่มเด็กวัยรุ่น กรมวิทย์ฯ อย. 3.ระบบคุ้มครองผู้บริโภค 4.กลุ่มวัยทำงาน 4.ระบบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ อนามัย สบส. 5.กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ

  50. Road Map การดำเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข • ระยะเร่งด่วน • โครงการรวมใจปรองดองสมานฉันท์ • การพัฒนาระบบบริการให้ดียิ่งขึ้น • สร้างขวัญกำลังใจ • ธรรมมาภิบาลและกลไกตรวจสอบ ถ่วงดุล • บำบัดรักษา ฟื้นฟู ผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด และการเฝ้าระวังควบคุมการใช้ วัตถุเสพติด • ระยะยาว • จัดทำแผนการลงทุนของกระทรวงสาธารณสุข • จัดทำแผนการผลิตและพัฒนากำลังคน • ระยะกลาง • การปฏิรูประบบเขตบริการสุขภาพ • การปฏิรูประบบการเงินการคลัง • พัฒนาระบบข้อมูลด้านสุขภาพ • การพัฒนาและบังคับใช้กฎหมาย • การพัฒนากลไกสร้างเอกภาพในการกำหนดนโยบายสาธารณสุข (NHAB) • เสริมสร้างความพร้อมรองรับประชาคมอาเซีย • พัฒนางานสาธารณสุขชายแดนแรงงานต่างด้าว • ปีงบประมาณ 2558 (ต.ค.57-ก.ย.58) – 2559 (ต.ค.58-ก.ย.59) • ปีงบประมาณ 2560 • ปีงบประมาณ 2557 (มิ.ย.-ก.ย.) • ได้พบแพทย์ รอไม่นาน อยู่ใกล้ ไกลได้รับยาเดียวกัน • ผู้ป่วยฉุกเฉินทุกสิทธิปลอดภัย • ผู้สูงอายุและคนพิการได้รับการดูแลฟื้นฟูต่อเนื่อง • มีกลไกการอภิบาลระบบที่เป็นระบบคุณธรรม • ประชาชนที่ได้รับผลกระทบด้านสังคมจิตใจ ได้รับการเยี่ยวยา • ผู้เสพ ผู้ติดยาและสารเสพติด ได้รับการบำบัดรักษา ฟื้นฟูตามเกณฑ์ที่กำหนด • มีกลไกกำหนดและกำกับนโยบายสาธารณสุขในระดับชาติ • ลดความเหลื่อมล้ำสิทธิรักษาพยาบาลระหว่างกองทุน • มีระบบบริการแบบเขตบริการสุขภาพ 12 เขต • ประชาชนเข้าถึงบริการได้มากขึ้น ระบบบริการมีคุณภาพและประสิทธิภาพ • ประชาชนได้รับการส่งต่อแบบเบ็ดเสร็จ ไร้รอยต่อในเขตบริการสุขภาพ • ประชาชานทั่วไปมีภูมิคุ้มกันและความเข้มแข็งทางจิตใจ • ระบบบริการของประเทศมีศักยภาพรองรับประชาคมอาเซียน • ประชาชนในพื้นทีชายแดน ชายขอบ และแรงงานต่างด้าว สามารถเข้าถึง บริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ • ประชาชนได้รับความเท่าเทียมในการรับบริการ • ระบบสุขภาพมีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ สมาฉันท์ บนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข • ประชาชนได้รับความคุ้มครองภายใต้กฎหมายด้านสุขภาพ

More Related