1 / 103

การผลิตมะม่วงเพื่อการส่งออก

การผลิตมะม่วงเพื่อการส่งออก. โดย สุนันทา พ่วงเสมา กรมส่งเสริมการเกษตร. หัวข้อการนำเสนอ. สถานการณ์การส่งออกมะม่วง สถิติการส่งออก ปัญหาการส่งออก กฎระเบียบและเงื่อนไขการส่งออก การจัดการการผลิตมะม่วงเพื่อการส่งออก

ayala
Download Presentation

การผลิตมะม่วงเพื่อการส่งออก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การผลิตมะม่วงเพื่อการส่งออกการผลิตมะม่วงเพื่อการส่งออก โดย สุนันทา พ่วงเสมา กรมส่งเสริมการเกษตร

  2. หัวข้อการนำเสนอ • สถานการณ์การส่งออกมะม่วง สถิติการส่งออก ปัญหาการส่งออก กฎระเบียบและเงื่อนไขการส่งออก • การจัดการการผลิตมะม่วงเพื่อการส่งออก • แนวทางการพัฒนาการผลิตมะม่วงเพื่อการส่งออก

  3. Thailand Position in the World Mango Export, 2005 Source: FAOSTAT, 2008

  4. การส่งออก ผลไม้สด ปี 2551 (รายชนิด)10 อันดับ ตามปริมาณการส่งออก

  5. การส่งออก มะม่วง ปี 2549 - 2551

  6. ประเทศที่นำเข้า มะม่วง จากประเทศไทย ปี 2551

  7. ด้านสุขอนามัย ปัญหาการส่งออก ด้านสุขอนามัยพืช

  8. การแจ้งเตือน พบสารพิษตกค้างใน มะม่วง

  9. ปัญหาด้านสุขอนามัยพืชที่ได้รับแจ้งปัญหาด้านสุขอนามัยพืชที่ได้รับแจ้ง

  10. Bactroceradorsalis fruit fly

  11. Sternochetusmangiferae mango seed weevil ด้วงเจาะผลมะม่วง

  12. ไปEUต้องจดทะเบียนกับกรมวิชาการเกษตรและ ต้องผ่านการรับรองแปลงGAPและโรงคัดบรรจุ (GMP) กฎระเบียบและเงื่อนไข ต้องตรวจสารพิษตกค้างก่อนส่งออก กลุ่มประเทศ EU ญี่ปุ่น สิงค์โปร์

  13. เงื่อนไขพิธีสารไทย-จีนเงื่อนไขพิธีสารไทย-จีน  ต้องขึ้นทะเบียนสวน  ต้องไม่มีดิน กิ่ง ใบ  สารพิษตกค้าง ไม่เกินค่ากำหนด และต้องไม่มีสารต้องห้าม

  14. มาเลเซีย “ Mangoes were inspected and found free from mango seed weevil(Sternochetus mangiferae) ” มะม่วงต้องปราศจากด้วงงวงเจาะเมล็ดมะม่วงและต้องระบุข้อความรับรองพิเศษ ดังนี้

  15. เงื่อนไขของญี่ปุ่น

  16. การอบไอน้ำ (Vapour Heat Treatment:VHT) JAPAN, KOREA, NEW ZEALAND

  17. Commercial VHT machine Capacity : 3 tons

  18. ส่งออกญี่ปุ่น เกาหลีและนิวซีแลนด์

  19.  การฉายรังสี (Irradiation) USA

  20. ศูนย์ฉายรังสีอาหาร (Thai Irradiation Center) คลอง 5 ปทุมธานี

  21. โรงงานฉายรังสี นิคมอุตสาหกรรม อมตะนคร ชลบุรี

  22. การตรวจสอบศัตรูพืชก่อนอนุญาตให้ฉายรังสีการตรวจสอบศัตรูพืชก่อนอนุญาตให้ฉายรังสี

  23. บรรจุใน carriers สำหรับฉายรังสี

  24. Fruit chain Preharvest (Farm Management) Harvesting Postharvest handling Logistic Marketing

  25. การจัดการสวนก่อนเก็บเกี่ยว (Preharvest) • เข้าใจมะม่วง • เลือกพันธุ์ ใช้พันธุ์ที่ตลาดรู้จักและต้องการ เช่น • น้ำดอกไม้สีทอง • น้ำดอกไม้ทวายเบอร์ 4 • มหาชนก • แรด • เขียวเสวย ,ฟ้าลั่น • อาทูอีทู , เออร์วิน ,จินฮวง

  26. การจัดการสวนก่อนเก็บเกี่ยว (Preharvest) • ระยะปลูก • 4x6 เมตร • 6x6 เมตร • 6x8 เมตร

  27. การจัดการสวนก่อนเก็บเกี่ยว (Preharvest) 1. การบังคับให้แตกกิ่งใบใหม่พร้อมๆ กันอาจทำโดยการตัดแต่งกิ่ง แล้วให้ปุ๋ยไนโตรเจนสูง ให้น้ำ • เพื่อให้แตกกิ่งใหม่พร้อมๆ กัน หรือใช้ไธโอยูเรีย 0.5 เปอร์เซ็นต์ (100 กรัมผสมน้ำ 20 ลิตร) • หรือพ่นด้วยโพแทสเซียมไนเตรท 200 กรัมผสมน้ำ 20 ลิตร

  28. การจัดการสวนก่อนเก็บเกี่ยว (Preharvest) • ปุ๋ย • ปุ๋ยเคมี • ปุ๋ยอินทรีย์ • ระยะแตกกิ่ง ใบใหม่ ไนโตรเจนสูง โพแทสเซียมต่ำ • ระยะก่อนออกดอก ไนโตรเจนต่ำ โพแทสเซียมสูง • ระยะติดใหม่ๆ ไนโตรเจนสูง โพแทสเซียมต่ำ • ระยะก่อนเก็บเกี่ยว ไนโตรเจนต่ำ โพแทสเซียมสูง

  29. ด้วงตัดใบ

  30. หนอนผีเสื้อเจาะยอดอ่อนหนอนผีเสื้อเจาะยอดอ่อน

  31. โรคแอนแทรกโนส

  32. การจัดการสวนก่อนเก็บเกี่ยว (Preharvest) 2. เมื่อแตกกิ่งใหม่ ให้พ่นยาป้องกันโรคแมลง ทำลายกิ่งใบ 2 ครั้ง / การแตกกิ่งใหม่ 1 ครั้ง

  33. การจัดการสวนก่อนเก็บเกี่ยว (Preharvest) • ใบเป็นเพสลาดสีเขียวอ่อน ใส่สารแพคโคลบิวทราโซลตามขนาดของพุ่มต้นและชนิดพันธุ์ โดยใช้สูตรคำนวณ • ปริมาณสารต่อต้น= กxพ • พ= ค่าคงที่ของพันธุ์ • ก= ความกว้างของพุ่มต้นเป็นเมตร • พันธุ์ออกง่าย = 10 (น้ำดอกไม้ ฟ้าลั่น ทองดำ) • พันธุ์ออกยาก = 15 (เขียวเสวย อกร่อง แรด)

  34. การจัดการสวนก่อนเก็บเกี่ยว (Preharvest) • ตัวอย่าง น้ำดอกไม้ ขนาดพุ่มต้น 4 เมตร • ปริมาณสารต่อต้น = ก x พ = 4 x 10 = 40 ซีซี สารละลายแขวนลอย 10% = 40 กรัม ผง 10%

  35. การจัดการสวนก่อนเก็บเกี่ยว (Preharvest) 200ลิตร= 100 ต้น 2 • หากใช้น้ำละลายสาร ต้นละ 2 ลิตร 1ถัง ใช้สาร = 40 x 100 = 4,000 กรัม = 4 กิโลกรัม

  36. - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ความกว้างทรงพุ่ม (เมตร) การจัดการสวนก่อนเก็บเกี่ยว (Preharvest) - - - - - - - - - - - - - -- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - การวัดความกว้างทรงพุ่ม(ก) และตำแหน่งที่ราดสารพาโคลบิวทราโซล(ข) ละลายสารในน้ำ 2 ลิตร ราดดินชิดโคน

  37. การจัดการสวนก่อนเก็บเกี่ยว (Preharvest) CB ให้น้ำให้ดินชุ่มเพื่อพาสารไปที่ตายอด เพื่อเปลี่ยนตาใบให้เป็นตาดอก

  38. การจัดการสวนก่อนเก็บเกี่ยว (Preharvest) • เมื่อใส่สารครบ 60วัน พ่น thiourea = 200กรัม / 20ลิตร หรือ KNO3 = 500 กรัม / 20ลิตร ให้ตาดอกเจริญเป็นช่อดอก ตาดอกจะเจริญออกมาใน 14วัน และดอกบานใน 1 เดือน หลังพ่น

  39. 1= ใส่สารแพคโคบิวทราโซล2 =พ่น thioureaหรือ KNO3 3 = ดอกบาน 4 =เก็บผล

More Related