1 / 49

การเปลี่ยนแปลงองค์การ

การเปลี่ยนแปลงองค์การ. กลุ่มที่ 1 คณะศึกษาศาสตร์ (การบริหารการศึกษา) สาขา วิทย บริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดแพร่.

Download Presentation

การเปลี่ยนแปลงองค์การ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเปลี่ยนแปลงองค์การการเปลี่ยนแปลงองค์การ

  2. กลุ่มที่ 1 คณะศึกษาศาสตร์(การบริหารการศึกษา) สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดแพร่

  3. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545กำหนดให้อำนาจรัฐกระจายอำนาจบางส่วนจากส่วนกลางไปสู่สถานศึกษาให้มีอำนาจหน้าที่ในฐานะที่เป็นนิติบุคคลได้มีความเป็นอิสระคล่องตัวในระดับหนึ่งในการบริหารจัดการศึกษาในรูปแบบของ การใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SCHOOL – BASED MANAGEMENT) อันจะเป็นการทำให้สถานศึกษามีรากฐานที่ดีและมีความเข้มแข็งโดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวกับ อำนาจหน้าที่ของสถานศึกษาซึ่งได้แก่ การบริหารวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบุคคลและการบริหารงานทั่วไป

  4. รูปแบบของการใช้โรงเรียนเป็นฐาน SCHOOL BASED MANAGEMENT (SBM) -ฝ่ายบริหารงานบุคคล -ฝ่ายบริหารงานทั่วไป -ฝ่ายบริหารวิชาการ -ฝ่ายบริหารงานงบประมาณ

  5. ความหมายขององค์กรตามพจนานะกรมฉบับราชบัณฑิตตยสถานความหมายขององค์กรตามพจนานะกรมฉบับราชบัณฑิตตยสถาน ได้นิยามความหมายของ “องค์กร” ไว้ว่าองค์กรเป็นศูนย์รวมกิจกรรมที่ประกอบกันขึ้นเป็นหน่วย ถ้าเป็นงานสาธารณะเรียกว่า องค์กรบริหารส่วนราชการถ้าเป็นหน่วยงานเอกชน เรียกว่าองค์กรบริหารธุรกิจ

  6. ความหมายของการเปลี่ยนแปลงองค์กรความหมายของการเปลี่ยนแปลงองค์กร • ฮอดจ์ แอนโธนี และเกลส์ • (B.J. Hodge, William P. Anthony and Lawrence M. Gale) • ได้ให้ความหมายของการเปลี่ยนแปลงไว้ว่า • “เป็นความจงใจและแนวทางในการเปลี่ยนแปลงที่บุคลากรในองค์การจัดให้มีการเปลี่ยนแปลงไป”

  7. ความหมายของการเปลี่ยนแปลงองค์กร ความหมายของการเปลี่ยนแปลงองค์กร • เซอร์โต้ (Samuei C. Certo) • ได้ให้ความหมายว่า หมายถึง กระบวนการปรับปรุงสภาพปัจจุบันขององค์การเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์การ ซึ่งเซอร์โต้ได้ชี้เห็นถึงความสำคัญในการปรับปรุงองค์การนั้น มีจุดเน้นอยู่ที่การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของอำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ และรวมถึงการติดต่อสื่อสารระหว่างสายงานหลักขององค์กร

  8. หลักการ องค์กรยุคใหม่ ไม่ว่าจะขนาดเล็ก กลาง หรือใหญ่ จะประสบความสำเร็จได้ หัวใจสำคัญ หรือคำตอบสุดท้ายอยู่ที่ ผู้นำยุคใหม่ต้องรู้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก และที่สำคัญต้องมี ภาวะผู้นำ เนื่องจากองค์กรยุคใหม่เน้นทีมการทำงาน ผู้นำที่ชาญฉลาด ต้องมีวิสัยทัศน์ และกลยุทธ์ในการนำทีม สามารถแสดงบทบาทผู้นำได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนเป็นผู้ผลักดันพัฒนาทีม กระบวนการทำงาน และนำองค์กรสู่ความแข็งแกร่ง ตลอดจนต้องมี Model ในการเป็นผู้นำ อันจะนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตน สู่การเป็นผู้นำที่ผู้ตามยอมรับและให้ความเชื่อมั่น

  9. โรงเรียนนิติบุคล โรงเรียนนิติบุคลมีความจำเป็นและประโยชน์ต่อสถานศึกษาคือ 1. เพื่อให้สถานศึกษาจัดการศึกษาอย่างเป็นอิสระ คล่องตัว ให้สามารถบริหารจัดการศึกษาได้สะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพตามหลักการกระจายอำนาจและการบริหารที่ใช้โรงเรียนเป็นฐาน

  10. โรงเรียนนิติบุคล                2. เพื่อให้การจัดการศึกษาเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข

  11. องค์การแห่งการเรียนรู้องค์การแห่งการเรียนรู้ “องค์การแห่งการเรียนรู้ หรือLearning Organizational “ ฮอดก์ และ คณะ กล่าวถึง ลักษณะสำคัญขององค์การแห่ง การเรียนรู้ไว้ 5 ลักษณะดังนี้ - พัฒนารูปแบบในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ - ไม่ควรติดยึดกรอบเดิมๆจนเกินไป - สมาชิกต้องฝึกฝนตนเองและ - ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นการสื่อสาร - ใช้กระบวนการเรียนรู้และการถ่ายโอนสารสนเทศ

  12. นิยามของการเปลี่ยนแปลงนิยามของการเปลี่ยนแปลง เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นตลอดเวลา และเป็นสิ่งที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ หรือ สิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ซึ่งแตกต่างกับสิ่งผ่านมา ภายในองค์กรทุกๆองค์กรนั้น จะมีการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น “ที่ใดมีการพัฒนา ที่นั่นย่อมมีการเปลี่ยนแปลง”

  13. สาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงองค์การสาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงองค์การ การแทรกแซงของรัฐบาล ค่านิยมทางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี และความรู้ใหม่ กระบวนการและบุคคล

  14. สรุป:สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงสรุป:สาเหตุของการเปลี่ยนแปลง มีสาเหตุอยู่หลายประการสามารถสรุปได้ดังนี้ 1. ปัจจัยภายนอก ได้แก่ สภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ฯ 2. ปัจจัยภายใน ได้แก่ นโยบายขององค์การระบบการ บริหาร ผู้บริหารงานบุคคล กฎระเบียบ ข้อบังคับของ องค์การฯ

  15. ประเภทของการเปลี่ยนแปลงในองค์การประเภทของการเปลี่ยนแปลงในองค์การ การเปลี่ยนแปลงด้านผลิตภัณฑ์และการบริการ การเปลี่ยนแปลงด้านยุทธศาสตร์และโครงสร้าง การเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากรและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี

  16. ระบบการเรียนรู้:Learning Dynamics ระดับการเรียนรู้ สามารถจำแนกได้ 3 ระดับ ระดับบุคคล ระดับกลุ่ม ระดับองค์การ

  17. ระบบการเรียนรู้:Learning Dynamics • ประเภทในการเรียนรู้มี 3 ประเภท • การเรียนรู้เพื่อการปรับตัว • การเรียนรู้โดยการกระทำ • การเรียนรู้เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายขององค์การ

  18. การบริหารการเปลี่ยนแปลงการบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management) ต้องมีผู้มีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงดังนี้ • ผู้ริเริ่มในการเปลี่ยนแปลง • ผู้สนับสนุนการเปลี่ยนแปลง •  ผู้นำการเปลี่ยนแปลง

  19. ในการเปลี่ยนแปลงในองค์การจะก่อให้เกิดกลุ่ม 2 กลุ่มในองค์กร • กลุ่มสนับสนุนการเปลี่ยนแปลง • (Force for Change) • คือ • กลุ่มที่เห็นด้วย • ในการพัฒนาการเปลี่ยนแปลง

  20. ในการเปลี่ยนแปลงในองค์การจะก่อให้เกิดกลุ่ม 2 กลุ่มในองค์กร • กลุ่มต่อต้านการเปลี่ยนแปลง • (Resistance to Change) • คือกลุ่มที่ไม่เห็นด้วยในการเปลี่ยนแปลจะเป็นกลุ่มที่กลัวจะสูญเสียอำนาจหรือผลประโยชน์ต่างๆจากการเปลี่ยนแปลง

  21. ขั้นตอน กระบวนการ การเปลี่ยนแปลง • เคิร์ทเลวิน(Kurt Lewin)ได้แบ่งขั้นตอนของ • กระบวนการให้การเปลี่ยนแปลงออกเป็น 3 ระยะ • ระยะยอมรับถึงความจำเป็น(Unfreezing) • ระยะดำเนินการเปลี่ยนแปลง(Changing) • ระยะรักษาสภาพใหม่ให้อยู่กับองค์การได้ถาวร(Refreezing)

  22. กลยุทธ์ทางการบริหารที่ใช้สำหรับการเปลี่ยนแปลงองค์การกลยุทธ์ทางการบริหารที่ใช้สำหรับการเปลี่ยนแปลงองค์การ  กลยุทธ์การเปลี่ยนแปลงที่คน ( People Approaches )  กลยุทธ์การเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี (Technological Approaches )  กลยุทธ์การเปลี่ยนแปลงทางด้านโครงสร้าง ( Structural Approaches )

  23. กลยุทธ์ทางการบริหารที่ใช้สำหรับการเปลี่ยนแปลงองค์การกลยุทธ์ทางการบริหารที่ใช้สำหรับการเปลี่ยนแปลงองค์การ • กลยุทธ์การเปลี่ยนแปลงที่ตัวคนงาน • (Task Approaches ) •  กลยุทธ์การปรับเปลี่ยนที่กลยุทธ์(องค์การ) • ( Strategy Approaches )

  24. แนวคิดของ Learning Organization Peter Sengeเชื่อว่าหัวใจของ Learning Organization อยู่ที่การสร้างวินัย 5 ประการ Personnal Mastery : มุ่งสู่ความเป็นเลิศ 2. Mental Model มีรูปแบบวิธีการคิดและมุมมองที่เปิดกว้าง

  25. แนวคิดของ Learning Organization Peter Sengeเชื่อว่าหัวใจของ Learning Organization 3. Shared Vissionการสร้างและสานวิสัยทัศน์ 4. Team Learn การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม 5. System Thinking มีความคิดความเข้าใจเชิงระบบ

  26. องค์ประกอบขององค์การแห่งการเรียนรู้ องค์การแห่งการเรียนรู้ คือ การพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของคนทำงาน บนพื้นฐานของการเรียนรู้ (Learning Base)

  27. แนวคิดเกี่ยวกับการจัดให้โรงเรียนแนวคิดเกี่ยวกับการจัดให้โรงเรียน องค์การแห่งการเรียนรู้

  28. แนวคิดเกี่ยวกับการจัดให้โรงเรียนเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้แนวคิดเกี่ยวกับการจัดให้โรงเรียนเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ องค์การที่สามารถเรียนรู้การสร้างองค์ความรู้เพื่อเพิ่มพูนสมรรถนะที่จะก่อเกิดความก้าวหน้าในการดำเนินกิจการไปสู่เป้าหมายร่วมขององค์การ

  29. องค์การที่สามารถเรียนรู้การสร้างองค์ความรู้เพื่อเพิ่มพูนสมรรถนะที่จะก่อเกิดความก้าวหน้าในการดำเนินกิจการองค์การที่สามารถเรียนรู้การสร้างองค์ความรู้เพื่อเพิ่มพูนสมรรถนะที่จะก่อเกิดความก้าวหน้าในการดำเนินกิจการ ไปสู่เป้าหมายร่วมขององค์การ

  30. องค์การแห่งการเรียนรู้คือสถานที่ซึ่งทุกคนสามารถขยายศักยภาพของตนเองได้อย่างต่อเนื่อง สามารถสร้างผลงานตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ เป็นที่ซึ่งเกิดรูปแบบการคิดใหม่ๆหลากหลายมากมาย ที่ซึ่งแต่ละคนมีอิสระที่สร้างแรงบันดาลใจและเป็นที่ซึ่งทุกคนต่างเรียนรู้วิธีการเรียนรู้ร่วมกัน

  31. David A. Gavin (1993) แห่ง Harvard University องค์กรที่มีลักษณะในการสร้าง แสวงหา และถ่ายโยงความรู้ และมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็นผลมาจากความรู้ใหม่และการเข้าใจในสิ่งต่างๆ อย่างถ่องแท้

  32. Michaek Marquardt (1994) แห่ง George Washington University องค์กรที่ซึ่งมีบรรยากาศของการเรียนรู้รายบุคคลและกลุ่ม มีการสอนคนของตนเองให้มีกระบวนการคิดวิเคราะห์ เพื่อช่วยให้เข้าใจในสรรพสิ่ง ขณะเดียวกันทุกคนก็ช่วยองค์การ จากความผิดพลาดและความสำเร็จ ซึ่งเป็นผลให้ทุกคนตระหนักในการเปลี่ยนแปลงและปรับตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  33. ลักษณะสำคัญ 5 ประการขององค์การแห่งการเรียนรู้ มีลักษณะสำคัญ 5 ประการ ดังนี้ คือ มีการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ (Systematic problem Solving) 2. มีการทดลองปฏิบัติ (Experimental)

  34. ลักษณะสำคัญ 5 ประการขององค์การแห่งการเรียนรู้ 3. มีการเรียนรู้จากบทเรียนในอดีต (Learning from their own experience) 4. มีการเรียนรู้จากผู้อื่น (Learning from the Others) 5. มีการถ่ายทอดความรู้

  35. องค์ประกอบขององค์การแห่งการเรียนรู้องค์ประกอบขององค์การแห่งการเรียนรู้ องค์ประกอบการขับเคลื่อนพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ 5 ระบบอันได้แก่ 1.ระบบองค์การ : Organization Transformation 2.ระบบผู้คนที่เกี่ยวข้องกับองค์การ: People Empowerment

  36. องค์ประกอบขององค์การแห่งการเรียนรู้องค์ประกอบขององค์การแห่งการเรียนรู้ 3.ระบบความรู้ : Knowledge Management 4.ระบบเทคโนโลยี:Technology Application 5.ระบบการเรียนรู้: Learning Dinamics

  37. ระบบองค์การ : Organization Transformation มีการวางรากฐานไว้อย่างชัดเจนเพื่อสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ ได้แก่ วิสัยทัศน์ วัฒนธรรมองค์การ : ค่านิยม การทำงานเป็นการบริหารจัดการตนเอง กลยุทธ์ โครงสร้างองค์การ

  38. ระบบผู้คนที่เกี่ยวข้องกับองค์การ: People Empowerment ต้องประกอบด้วยบุคลากรที่เกี่ยวข้องหลายฝ่ายทั้งภายในองค์การและภายนอกองค์การ เช่น  พนักงานระดับปฏิบัติการ : ครู  ผู้บริหาร : ผู้อำนวยการโรงเรียน  ลูกค้าผู้รับบริการ : นักเรียน พันธมิตร : ชุมชน องค์การที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน ฯ

  39. ระบบความรู้ : Knowledge Management • เป็นระบบที่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง ที่ต้องมีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบโดยมีกระบวนการในการจัดการความรู้ • การระบุความรู้ • การแสวงหาความรู้ • การสร้างองค์ความรู้ • การจัดเก็บความรู้ • การถ่ายโอนความรู้และการใช้ประโยชน์

  40. ระบบเทคโนโลยี :Technology Application ประเภทของเทคโนโลยีที่ช่วยใน การสร้างองค์ความรู้มี2 ประเภท เทคโนโลยีสำหรับการบริหารจัดการความรู้ เทคโนโลยีสำหรับการเพิ่มพูนความรู้

  41. ทักษะ 5 ประการของบุคลากร องค์กรแห่งการเรียนรู้ สร้างทักษะแห่งการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพให้เกิดแก่บุคลากร 1. บุคลากรรอบรู้ (Personal Mastery) 2. รูปแบบความคิด (Mental Model) 2. วิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision)  4. การเรียนรู้เป็นทีม (Team Learning)  5. ความคิดเป็นระบบ   (System Thinking) 

  42. บทสรุป • การนำไปใช้ในการเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการทำงาน โดยเป็นแหล่งเสริมสร้างความคิดทางปัญญา ด้วยการเรียนรู้ที่มีการเรียนรู้ร่วมกัน อีกทั้งช่วยให้ผู้เรียนนั้น มีประสิทธิภาพสูงสุด ส่งผลให้องค์กรประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์อย่างยั่งยืน

  43. องค์การแห่งการเรียนรู้องค์การแห่งการเรียนรู้ • ใครเรียนรู้ (Who): พนักงานทุกคนทุกระดับ เริ่มต้นที่ตัวเอง • เรียนรู้อะไร (What): แนวคิด หลักการ ทฤษฎี คู่มือ มาตรฐาน ขั้นตอน กระบวนการ วิธีปฏิบัติในหน้าที่งานที่รับผิดชอบ • เรียนที่ไหน (Where): ที่บ้าน ที่ทำงาน • เรียนรู้เมื่อไร (When): ทุกเวลา • เรียนรู้ทำไม (Why): เพื่อนำความรู้ ทักษะ ไปใช้ในการสร้างผลงานที่ดีให้กับองค์กร…

  44. องค์การแห่งการเรียนรู้องค์การแห่งการเรียนรู้ • ตัวเองมีความรู้ ทักษะ ทัศนคติในการทำงานที่ดีขึ้น • ทีมงานมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ยกระดับการทำงานในทีมข้ามสายงาน • กระบวนการทำงานที่กระชับ รวดเร็ว วัดผลได้ • สินค้า บริการที่ได้ใจลูกค้า

  45. องค์การแห่งการเรียนรู้องค์การแห่งการเรียนรู้ • เรียนรู้อย่างไร (How) • เข้าร่วมอบรม สัมมนา Workshop • เรียนรู้ด้วยตนเอง ผ่านทาง Internet, e-Learning,ห้องสมุด หรือแหล่งข้อมูลอื่น • คุยแลกเปลี่ยนกับทีมงานแบบไม่เป็นทางการ หรือทำ Morning Talk… • “ทุกคนคือผู้เรียน ทุกสิ่งคือบทเรียน • ทุกที่คือห้องเรียน ทุกเมื่อคือเวลาเรียน”

  46. สรุปกลุ่ม องค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) คือองค์การที่พนักงานทุกคนทุกระดับใฝ่ศึกษาพัฒนาตนเองและร่วมกันสร้างผลงานที่ดีให้กับองค์การอย่างต่อเนื่องในองค์การ

  47. บทสรุป การพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้ เกี่ยวเนื่องกับมิติ การสร้างและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ อย่างแท้จริง คือ สถานะขององค์การแห่งการเรียนรู้จะดำรงอยู่ได้ต้องอาศัย บุคลากรเป็นสำคัญ ซึ่งบุคลากรนั้นเป็นบุคคล ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลหลายระดับ เช่น ผู้บริหาร หัวหน้างานพนักงานระดับปฏิบัติการซึ่งต้องมี ความชัดเจนในทักษะ 5 ประการ ข้างต้น

More Related