1 / 24

ข้อมูลโรงพยาบาลลำลูกกา

ข้อมูลโรงพยาบาลลำลูกกา. ลักษณะบริการ จำนวนเตียงผู้ป่วยใน (ไม่รวมเตียงทารกคลอดปกติ ) : 30 เตียง ระดับของการให้บริการ : ทุติยภูมิ ระดับต้น ( 2.1) ประชากรในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ รับผิดชอบประชากรในเขตพื้นที่เครือข่ายหลักประกันสุขภาพโรงพยาบาลลำลูกกา จำนวน 99 , 530 คน.

aysel
Download Presentation

ข้อมูลโรงพยาบาลลำลูกกา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ข้อมูลโรงพยาบาลลำลูกกาข้อมูลโรงพยาบาลลำลูกกา ลักษณะบริการ • จำนวนเตียงผู้ป่วยใน (ไม่รวมเตียงทารกคลอดปกติ) : 30 เตียง • ระดับของการให้บริการ : ทุติยภูมิ ระดับต้น (2.1) ประชากรในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ • รับผิดชอบประชากรในเขตพื้นที่เครือข่ายหลักประกันสุขภาพโรงพยาบาลลำลูกกา จำนวน 99,530 คน

  2. จำนวนบุคลากรจำแนกตามสาขาวิชาชีพที่สำคัญจำนวนบุคลากรจำแนกตามสาขาวิชาชีพที่สำคัญ

  3. จำนวนผู้ป่วย ข้อมูล: กุมภาพันธ์ 2553

  4. “โรงพยาบาลลำลูกกาเป็นผู้นำโรงพยาบาลชุมชนในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ชุมชนมีส่วนร่วมสร้างเสริมสุขภาพ และพัฒนาคุณภาพ เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพ และคุณภาพชีวิตที่ดี” “โรงพยาบาลลำลูกกาจัดบริการสุขภาพตามชุดสิทธิประโยชน์หลักที่ได้มาตรฐาน ครอบคลุมด้านรักษา ส่งเสริม ป้องกัน และฟื้นฟูสภาพ รวมถึงการดูสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม โดยชุมชนมีส่วนร่วม คำนึงถึงความสะดวกรวดเร็ว ความเสมอภาค ความพึงพอใจ และสิทธิผู้ป่วย” วิสัยทัศน์ พันธกิจ

  5. แผนยุทธศาสตร์ • สร้างเสริมศักยภาพ และการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพชุมชน ตามกลุ่มอายุ และอาชีพ • ปรับปรุงหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิให้เกิดความเข้มแข็ง • พัฒนาเครือข่ายแกนนำด้านการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน • ส่งเสริมการสร้างสุขภาพ และปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี • พัฒนาองค์กรให้เข้มแข็งทั้งในด้านทรัพยากร บุคลากร อาคารสถานที่ อุปกรณ์การแพทย์ ระบบบริการ และระบบการบริหารจัดการให้มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ • ขยายตลาดกลุ่มข้าราชการ ผู้ป่วยจ่ายเงินเอง รวมทั้งผู้ประกันตน • ขยายบริการด้านการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก

  6. โครงสร้างองค์กรเพื่อการพัฒนาคุณภาพ โรงพยาบาลลำลูกกา ปี 2007 ผู้อำนวยการโรงพยาบาล คณะกรรมการบริหาร (AMC) ศูนย์คุณภาพ (QMR) ทีมสหสาขาวิชาชีพ (PCT) ทีมควบคุมการติดเชื้อ (IC) ทีมจัดการความเสี่ยง (RM) ทีมสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย (ENV) องค์กรแพทย์ (MDO) องค์กรพยาบาล (NSO) งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน งานทันตกรรม งานชันสูตร งานหน่วยจ่ายกลาง ศูนย์ข้อมูล สารสนเทศ งานซ่อมบำรุง งานการเงิน งานผู้ป่วยนอก งานเภสัชกรรม งานรังสีการแพทย์ งานสนาม งานบัญชี งานห้องคลอด งานแพทย์ทางเลือก งานรักษาความปลอดภัย งานธุรการ งานห้องผ่าตัด งานแพทย์แผนไทย งานพัสดุ งานผู้ป่วยใน งานสุขภาพจิตและยาเสพติด งานยานพาหนะ งานโภชนาการ งานประกันสุขภาพ กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน สายบังคับบัญชา สายประสานงาน งานกายภาพบำบัด AMC: Administration and Management Committee QMR: Quality Management Representative PCT: Patient Care TeamIC: Infectious Control Committee RM: Risk Management Team ENV: Environmental Management TeamMDO: Medical Organization NSO: Nursing Organization

  7. เข็มมุ่ง • ความปลอดภัยของผู้ป่วย (Patient Safety) • พัฒนาการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง • เบาหวาน • ความดันโลหิตสูง • หอบหืด • โรคหัวใจ

  8. นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 1.สร้างเสริมสุขภาพโดยชุมชนมีส่วนร่วม 2.ให้บริการอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน 3.ประกันคุณภาพด้านบริการ 4.จัดการสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ

  9. โรคที่เป็นโอกาสพัฒนา • โรคเบาหวาน • ความดันโลหิตสูง • โรคหอบหืด • โรคหัวใจ • ไข้เลือดออก

  10. ผลงานเด่นและความภาคภูมิใจของโรงพยาบาลที่ผ่านมาผลงานเด่นและความภาคภูมิใจของโรงพยาบาลที่ผ่านมา • ผ่านการประเมินโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวระดับทอง ปี 2552 • ได้รับรางวัลที่ 1 การนำเสนอผลงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี พ.ศ. 2551 “โรงเรียนอ่อนหวานสร้างสุขภาพ” • ผ่านกระบวนการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับ 3 (จาก 5) • ผ่านการประเมินความเสี่ยงความปลอดภัยในการทำงานระดับ 4 (จาก 5) • รางวัล Best Practice การส่งเสริมการรับยาต้านไวรัสเอดส์ สคร. 1 • รางวัลป้ายทอง 5 สเฉลิมพระเกียรติปี 2548 • Healthy workplace ระดับเงิน

  11. ผลการพัฒนาระบบงาน • พัฒนาระบบการลดความคลาดเคลื่อนทางยา • การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยหอบหืด (Easy Asthma Clinic: EAC) • การดูแลผู้ป่วยเบาหวานด้วยนวัตกรรมสีสันชีวิต • คลอรีนฆ่าเชื้อโรคลดความเสี่ยง • การติดตามพฤติกรรมการล้างมือที่ถูกวิธีของบุคลากรทางการแพทย์

  12. บูรณาการมาตรฐานการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาล(HA/HPH)บูรณาการมาตรฐานการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาล(HA/HPH) • Hospital Accreditation(HA) • Health Promoting Hospital(HPH) • Humanize Health Care • 5ส.

  13. กรอบแนวคิดการพัฒนาคุณภาพกรอบแนวคิดการพัฒนาคุณภาพ • พัฒนาองค์กรอย่างมีระบบ โดยมีกิจกรรมหลัก 3 ขั้นตอน คือ การพัฒนาคุณภาพ การประเมินคุณภาพ และการรับรองคุณภาพ. • เน้นการแก้ปัญหาและตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยและลูกค้า(Awareness to customer requirement) • เน้นการปรับปรุงกระบวนการทำงาน/ระบบงานอย่างไม่สิ้นสุด (Continuous Process Improvement) • เน้นการเสริมพลังเจ้าหน้าที่ (Employee empowerment) และการทำงานร่วมกันเป็นทีม • เน้นการทำด้วยอุดมการณ์ (Value based leadership)

  14. ขั้นตอนการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาลขั้นตอนการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาล 1.กำหนดบุคคล และองค์กรรับผิดชอบ - ทีมนำองค์การและเสริมพลัง - ทีมพัฒนาคุณภาพ - ทีมพี่เลี้ยงหรือผู้ช่วยเหลือการเรียนรู้ 2.วิเคราะห์สถานการณ์ - บรรยากาศการทำงานในองค์กร - ฟังเสียงสะท้อนจากผู้ใช้บริการ

  15. ขั้นตอนการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาล(ต่อ)ขั้นตอนการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาล(ต่อ) 3.กำหนดเป้าหมายและแผนยุทธศาสตร์ - พันธกิจ - วิสัยทัศน์ - ปรัชญา / อุดมการณ์ / ค่านิยม - ยุทธศาสตร์ - ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ - วิเคราะห์ระบบงาน - เขียนคู่มือ (นโยบาย/ความรับผิดชอบ/วิธีปฏิบัติ/ผู้รับผิดชอบ) - ดำเนินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ

  16. 3.กำหนดเป้าหมายและแผนยุทธศาสตร์ (ต่อ) - ประเมินตนเองตามมาตรฐานโรงพยาบาล - ตรวจ ติดตามคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง - ให้องค์กรภายนอกมาตรวจสอบ - รักษาระบบที่ได้คุณภาพให้คงไว้

  17. บทบาทผู้บริหาร • ผู้บริหารระดับสูงตัดสินใจรับในกรอบแนวทางตามมาตรฐานโรงพยาบาล • กำหนดผู้รับผิดชอบและโครงสร้างการพัฒนาคุณภาพซึ่งสอดรับกับระบบบริหารปกติของโรงพยาบาล • สำรวจสถานการณ์ (บรรยากาศการทำงาน เสียงสะท้อนจากผู้ป่วย) • ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานสร้างความมุ่งมั่นและกำหนดเป้าหมายการพัฒนาร่วมกัน • กำหนดทีมรับผิดชอบในการประเมินและพัฒนาตนเอง • ดำเนินการฝึกอบรมที่จำเป็นให้แก่ทีมต่างๆ

  18. บทบาทผู้บริหาร(ต่อ) • ทีมต่างๆทบทวนระบบการทำงานในขอบเขตที่ทีมรับผิดชอบนำไปสู่ การกำหนดมาตรฐานการทำงาน • การสร้างระบบตรวจสอบตนเองที่ดีและเชื่อถือได้ • การพัฒนาระบบงาน/กระบวนการทำงานอย่างต่อเนื่อง • ประสานกับผู้บริหารเพื่อให้เกิดการสนับสนุนกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ การจัดหาทรัพยากรที่เหมาะสมและการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานภาย ในเพื่อให้เอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (เช่น แรงจูงใจ ระบบข้อมูลข่าวสาร) • ใช้ "มาตรฐานโรงพยาบาล"เป็นเครื่องมือประเมิน ความก้าวหน้าในการพัฒนา

  19. โอกาสพัฒนา • การปรับปรุงกระบวนการทำงาน/ระบบงานอย่างไม่สิ้นสุด (Continuous Process Improvement) • การเสริมพลังเจ้าหน้าที่ (Employee empowerment) และการทำงานร่วมกันเป็นทีม • การทำด้วยอุดมการณ์ (Value based leadership)

More Related