1 / 68

โครงการ ศูนย์ประสานงานรักษา ความปลอดภัยประจำท้องถิ่น (ศปถ.) สามัคคี คือ พลังแห่งความสำเร็จ

โครงการ ศูนย์ประสานงานรักษา ความปลอดภัยประจำท้องถิ่น (ศปถ.) สามัคคี คือ พลังแห่งความสำเร็จ. พันตำรวจเอก ปรัชญ์ชัย ใจชาญสุขกิจ รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัดราชบุรี. ประวัติการศึกษา - ปริญญาตรี นิติศาสตร์บัณฑิต ม.ธรรมศาสตร์ - ปริญญาตรี รัฐศาสตร์บัณฑิต ม.รามคำแหง

Download Presentation

โครงการ ศูนย์ประสานงานรักษา ความปลอดภัยประจำท้องถิ่น (ศปถ.) สามัคคี คือ พลังแห่งความสำเร็จ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการ ศูนย์ประสานงานรักษา ความปลอดภัยประจำท้องถิ่น (ศปถ.) สามัคคี คือ พลังแห่งความสำเร็จ

  2. พันตำรวจเอก ปรัชญ์ชัย ใจชาญสุขกิจรองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัดราชบุรี

  3. ประวัติการศึกษา - ปริญญาตรี นิติศาสตร์บัณฑิต ม.ธรรมศาสตร์ - ปริญญาตรี รัฐศาสตร์บัณฑิต ม.รามคำแหง - ปริญญาโท รัฐปศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต ม.จุฬาฯ - ปริญญาโท วิทยาศาสตร์ศาสตร์มหาบัณฑิต (สาขาสิ่งแวดล้อม) ม.เกษตรศาสตร์ ผลงานดีเด่น - รับโล่เกียรติยศ รองสารวัตรปราบปรามดีเด่น อันดับ 1 บก.น.เหนือ ประจำปี พ.ศ. 2531 - รับโล่เกียรติยศ รองสารวัตรปราบปรามดีเด่น อันดับ 1 บช.น. ประจำปี พ.ศ. 2531 - ได้รับเกียรติบัตรและเข็มเชิดชูเกียรติ ครุฑทองคำ ข้าราชการพลเรือนดีเด่น จากนายกรัฐมนตรี ประจำปี พ.ศ. 2539 - ได้รับเกียรติบัตร ข้าราชการพลเรือนดีเด่นของกรมตำรวจ ประจำปี พ.ศ. 2540

  4. บัญญัติ ๑๐ ประการ ตำรวจสายตรวจงานป้องกันปราบปราม ต่อตนเอง ๑) ต้องพัฒนาตนเองตลอดเวลา - Smart : บุคลิกดี มีความฉลาด มีปฏิภาณไหวพริบ - Smile : ยิ้มแย้ม แจ่มใส มีจิตใจให้บริการ - Strong : เข้มแข็ง อดทนในการปฏิบัติหน้าที่ ๒) ต้องมีจริยธรรม + คุณธรรม ๓) ต้องหมั่นฝึกฝนยุทธวิธีตำรวจอย่างสม่ำเสมอ

  5. ต่อประชาชน ๔) ต้องทำทุกวิถีทางให้ประชาชนมีความสุข และมีความศรัทธาตำรวจ ๕) ต้องแสวงหาความร่วมมือจากประชาชนให้มากที่สุด ๖) ต้องประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี เป็นที่ยอมรับนับถือ ของประชาชน

  6. ต่อระบบงานป้องกันปราบปรามต่อระบบงานป้องกันปราบปราม ๗) ต้องรอบรู้และวิเคราะห์ข้อมูลท้องถิ่นในท้องที่ของ ตนเองในเชิงรุกทั้งสถานที่ + ตัวบุคคลโดยละเอียด ๘) ต้องจัดระเบียบสังคมในท้องที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย ๙) ต้องปราบปรามอาชญากรอย่างเด็ดขาด ๑๐) ต้องระลึกเสมอว่า ผลสัมฤทธิ์ของงานป้องกันปราบปราม คือ ทำให้คดีเกิดขึ้นน้อยที่สุด และเมื่อคดีเกิดขึ้นแล้ว ก็ต้องติดตามจับกุมคนร้ายให้เร็วที่สุด

  7. หลักการปฏิบัติ ๓ ประสาน ๑. ตำรวจ - พิทักษ์สันติราษฎร์ ๒. ฝ่ายปกครอง - บำบัดทุกข์ บำรุงสุข ๓. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - พัฒนาสนับสนุน

  8. ประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณา ความอาญา

  9. ตำรวจ - มีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมืองและ มีอำนาจสอบสวน จับกุม คุมขัง - ป้องกันและปราบปรามการกระทำความผิดทางอาญา - รักษาความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัยของ ประชาชน และความมั่นคงของราชอาณาจักร - ปฏิบัติการตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา(สืบสวน สอบสวน)

  10. พระราชบัญญัติ ลักษณะปกครองท้องที่ พุทธศักราช ๒๔๕๗

  11. ฝ่ายปกครอง - มีหน้าที่บำบัดทุกข์ บำรุงสุข - ดำเนินการเกี่ยวกับการรักษาความสงบเรียบร้อย สืบสวนสอบสวนคดีอาญาในหน้าที่พนักงานฝ่ายปกครอง และอำนวยความเป็นธรรมให้แก่ประชาชน - มีข้อมูลทะเบียนราษฎร์ - มีข้อมูลท้องถิ่น - มีกำนัน, ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ

  12. หน้าที่และอำนาจของผู้ใหญ่บ้านและผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหน้าที่และอำนาจของผู้ใหญ่บ้านและผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน มาตรา ๒๗...ผู้ใหญ่บ้านทำหน้าที่ช่วยเหลือนายอำเภอ ในการปฏิบัติหน้าที่และเป็นหัวหน้าราษฎรในหมู่บ้านของตน และมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (๑) อำนวยความเป็นธรรม และดูแลรักษาความสงบ เรียบร้อย และความปลอดภัยให้แก่ราษฎรในหมู่บ้าน (๒) สร้างความสมานฉันท์และความสามัคคีให้เกิดขึ้น ในหมู่บ้าน รวมทั้งส่งเสริมวัฒนธรรมและประเพณีในท้องถิ่น

  13. (๓) ประสานหรืออำนวยความสะดวกแก่ราษฎรในหมู่บ้าน ในการติดต่อหรือรับบริการ กับส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรปกครองส่วนท่องถิ่น (๔) รับฟังปัญหาและนำความเดือดร้อน ทุกข์สุขและความ ต้องการที่จำเป็นของราษฎรในหมู่บ้าน แจ้งต่อส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรอื่น ที่เกี่ยวข้อง เพี่อให้การแก้ไขหรือช่วยเหลือ (๕) ให้การสนับสนุน ส่งเสริม และอำนวยความสะดวกในการ ปฏิบัติหน้าที่ หรือการให้บริการกับส่วนราชการหน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

  14. (๖) ควบคุมดูแลราษฎรในหมู่บ้าน ให้ปฏิบัติให้เป็นไปตาม กฎหมาย หรือระเบียบแบบแผนของทางราชการ โดยกระทำตน ให้เป็นตัวอย่างแก่ราษฎรตามที่ทางราชการได้แนะนำ (๗) อบรมหรือชี้แจงให้ราษฎรมีความรู้ความเข้าใจในข้อราชการ กฎหมาย หรือระเบียบแบบแผนของทางราชการ ในการนี้ สามารถ เรียกราษฎรมาประชุมได้ตามสมควร (๘) แจ้งให้ราษฎรให้ความช่วยเหลือในกิจการสาธารณประโยชน์ เพื่อบำบัดปัดป้องภยันตรายสาธารณะอันมีมาโดยฉุกเฉิน รวมตลอด ทั้งการช่วยเหลือบรรเทาทุกข์แก่ผู้ประสบภัย

  15. (๙) จัดให้มีการประชุมราษฎร และคณะกรรมการหมู่บ้าน เป็นประจำอย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง (๑๐) ปฏิบัติตามคำสั่งของกำนันหรือทางราชการและรายงาน เหตุการณ์ที่ไม่ปกติซึ่งเกิดขึ้นในหมู่บ้านให้กำนันทราบ พร้อมทั้ง รายงานต่อนายอำเภอด้วย (๑๑) ปฏิบัติตามภารกิจหรืองานอื่นตามกฎหมายหรือระเบียบ แบบแผนของทางราชการ หรือตามที่กระทรวง ทบวง กรม หน่วยงานอื่นของรัฐ ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือนายอำเภอ มอบหมาย

  16. มาตรา ๒๘... ผู้ใหญ่บ้านมีหน้าที่และอำนาจในการที่เกี่ยวด้วย ความอาญา ดังต่อไปนี้ คือ ข้อ ๑ เมื่อทราบข่าวมีการกระทำผิดกฎหมาย เกิดขึ้นหรือ สงสัยว่าได้เกิดขึ้นในหมู่บ้านของตน ต้องแจ้งความต่อกำนัน นายตำบลให้ทราบ ข้อ ๒ เมื่อทราบข่าวมีการกระทำผิดกฎหมาย เกิดขึ้นหรือ สงสัยว่าได้เกิดขึ้นในหมู่บ้านที่ใกล้เคียง ต้องแจ้งความต่อ ผู้ใหญ่บ้านหมู่บ้านนั้นให้ทราบ

  17. ข้อ ๓ เมื่อตรวจพบของกลางที่ผู้กระทำผิดกฎหมายมีอยู่ ก็ดี หรือสิ่งของที่สงสัยว่าได้มาโดยกระทำผิดกฎหมาย หรือเป็น สิ่งของสำหรับใช้ในการกระทำผิดกฎหมายก็ดี ให้จับสิ่งของนั้น ไว้และรีบนำส่งต่อกำนันนายตำบล ข้อ ๔ เมื่อปรากฏว่าผู้ใดกำลังกระทำผิดกฎหมายก็ดี หรือ มีเหตุควรสงสัยว่า เป็นผู้ที่ได้กระทำผิดกฎหมายก็ดี ให้จับตัว ผู้นั้นไว้ และรีบนำส่งต่อกำนันนายตำบล ข้อ ๕ ถ้ามีหมายหรือมีคำสั่งตามหน้าที่ราชการ ให้จับผู้ใด ในหมู่บ้านนั้น เป็นหน้าที่ของผู้ใหญ่บ้านที่จะจับผู้นั้น และรีบส่ง ต่อกำนัน หรือกรมการอำเภอตามสมควร

  18. (๖) เมื่อเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่ออกหมายสั่งให้ค้นหรือให้ยึด ผู้ใหญ่บ้านต้องจัดการให้เป็นไปตามกฎหมาย มาตรา ๒๘ ทวิ... ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายปกครอง มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) ช่วยเหลือผู้ใหญ่บ้านปฏิบัติกิจการตามอำนาจหน้าที่ของผู้ใหญ่บ้านเท่าที่ได้รับมอบหมายจากผู้ใหญ่บ้านให้กระทำ (๒) เสนอข้อแนะนำและให้คำปรึกษาต่อผู้ใหญ่บ้านในกิจการที่ผู้ใหญ่บ้านมีอำนาจหน้าที่

  19. ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายรักษาความสงบมีอำนาจหน้าที่ ดังนี้ (๑) ตรวจตรารักษาความสงบเรียบร้อยภายในหมู่บ้าน (๒) ถ้ารู้เห็นหรือทราบว่าเหตุการณ์อันใดเกิดขึ้นหรือจะเกิดขึ้นในหมู่บ้านเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย ให้นำความแจ้งต่อผู้ใหญ่บ้าน ถ้าเหตุการณ์ตามวรรคหนึ่งเกิดขึ้นหรือจะเกิดขึ้นในหมู่บ้านใกล้เคียง ให้นำความแจ้งต่อผู้ใหญ่บ้านท้องที่นั้นและรายงานให้ผู้ใหญ่บ้านของตนทราบ (๓) ถ้ามีคนจรเข้ามาในหมู่บ้าน และสงสัยว่าไม่ได้มาโดยสุจริต ให้นำตัวส่งผู้ใหญ่บ้าน

  20. (๔) เมื่อมีเหตุร้ายเกิดขึ้นในหมู่บ้าน ต้องระงับเหตุปราบปราม ติดตามจับผู้ร้ายโดยเต็มกำลัง (๕) เมื่อตรวจพบหรือตามจับได้สิ่งของใดที่มีไว้เป็นความผิดหรือได้ใช้หรือมีไว้เพื่อใช้ในการกระทำความผิดหรือได้มาโดยการกระทำความผิด ให้รีบนำส่งผู้ใหญ่บ้าน (๖) เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่าผู้ใดได้กระทำความผิดและกำลังจะหลบหนีให้ควบคุมตัวส่งผู้ใหญ่บ้าน (๗) ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้ใหญ่บ้าน ซึ่งสั่งการโดยชอบด้วยกฎหมาย

  21. มาตรา ๒๘ ตรี ในหมู่บ้านหนึ่งให้มีคณะกรรมการหมู่บ้าน ประกอบด้วย ผู้ใหญ่บ้านเป็นประธาน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีภูมิลำเนาในหมู่บ้าน ผู้นำหรือผู้แทนกลุ่มหรือองค์กรในหมู่บ้าน เป็นกรรมการหมู่บ้านโดยตำแหน่ง และกรรมการหมู่บ้านผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งนายอำเภอแต่งตั้งจากผู้ซึ่งราษฎรในหมู่บ้านเลือกเป็นกรรมการหมู่บ้านผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวนไม่น้อยกว่าสองคนแต่ไม่เกินสิบคน คณะกรรมการหมู่บ้านมีหน้าที่ช่วยเหลือ แนะนำ และให้คำปรึกษาแก่ผู้ใหญ่บ้าน เกี่ยวกับกิจการอันเป็นอำนาจหน้าที่ของผู้ใหญ่บ้าน และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามกฎหมาย หรือระเบียบแบบแผนของทางราชการ หรือที่นายอำเภอมอบหมาย หรือที่ผู้ใหญ่บ้านร้องขอ ให้คณะกรรมการหมู่บ้านเป็นองค์กรหลักที่รับผิดชอบในการบูรณาการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน และบริหารจัดการกิจกรรมที่ดำเนินงานในหมู่บ้านร่วมกับองค์กรอื่นทุกภาคส่วน

  22. ผู้นำหรือผู้แทนกลุ่มหรือองค์กรใดจะมีสิทธิเป็นกรรมการหมู่บ้านตาม วรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงมหาดไทยกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา กรรมการหมู่บ้านผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับผู้มีสิทธิ์เลือกผู้ใหญ่บ้าน วิธีการเลือกและการแต่งตั้ง วาระการดำรงตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่งของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และการปฏิบัติหน้าที่ การประชุม และการวินิจฉัยชี้ขาด ของคณะกรรมการหมู่บ้านให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมคณะกรรมการหมู่บ้าน ให้กรพทรวงมหาดไทยจ่ายเป็นเงินอุดหนุนให้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง มาตรา ๒๘ จัตวา ในการปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการรักษาความสงบเรียบร้อย ให้ผู้ใหญ่บ้าน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายรักษาความสงบ ใช้อาวุธปืนของทางราชการก็ได้

  23. หน้าที่และอำนาจของกำนันหน้าที่และอำนาจของกำนัน

  24. มาตรา ๓๔ ทวิ นอกจากอำนาจหน้าที่ที่กล่าวโดยเฉพาะให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกำนันให้กำนันมีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ใหญ่บ้านด้วย มาตรา ๓๕ กำนันมีหน้าที่และอำนาจในการที่เกี่ยวด้วยความอาญา ดังต่อไปนี้ คือ ข้อ ๑ เมื่อทราบข่าวว่ามีการกระทำผิดกฎหมายเกิดขึ้นหรือสงสัยว่าได้เกิดขึ้นในตำบลของตน ต้องแจ้งความต่อกรมการอำเภอให้ทราบ ข้อ ๒ เมื่อทราบข่าวว่ามีการกระทำผิดกฎหมายเกิดขึ้นหรือสงสัยว่าได้เกิดขึ้นในตำบลที่ใกล้เคียง ต้องแจ้งความต่อกำนันนายตำบลนั้นให้ทราบ

  25. ข้อ ๓ เมื่อปรากฏว่า ผู้ใดกำลังจะกระทำผิดกฎหมายก็ดี หรือมีเหตุควรสงสัยว่าเป็นผู้ที่ได้กระทำผิดกฎหมายก็ดี ให้จับตัวผู้นั้นไว้ และรีบนำส่งต่อกรมการอำเภอ ข้อ ๔ ถ้ามีหมายหรือมีคำสั่งตามหน้าที่ราชการ ให้จับผู้ใดในตำบลนั้น เป็นหน้าที่ของกำนันที่จะจับผู้นั้นแล้วรีบส่งต่อกรมการอำเภอตามสมควร ข้อ ๕ เมื่อเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่ออกหมายสั่งให้ค้น หรือให้ยึด กำนันต้องจัดการให้เป็นไปตามหมาย ข้อ ๖ ถ้ามีผู้มาขออายัดตัวคนหรือสิ่งของก็ดีหรือผู้ต้องโจรกรรม จะทำกฎหมายตราสิน หรือมีผู้จะขอชันสูตรบาดแผลก็ดี ทั้งนี้ให้กำนันสืบสวนฟังข้อความแล้วรีบนำตัวขอและผู้ต้องอายัติและทรัพย์สิ่งของบรรดาที่จะพาไปด้วยนั้นไปยังกรมการอำเภอ ถ้าสิ่งของอย่างใดจะพาไปไม่ได้ ก็ให้กำนันชันสูตรให้รู้เห็น แล้วนำความไปแจ้งต่อกรมการอำเภอในขณะนั้น

  26. มาตรา ๓๗... ถ้าเกิดจลาจลก็ดี ฆ่ากันตายก็ดี ปล้นทรัพย์ก็ดี ไฟไหม้ก็ดีหรือ เหตุร้ายสำคัญอย่างใด ๆ ในตำบลของตน หรือในตำบล ใกล้เคียงอันสมควรจะช่วยได้ก็ดี หรือมีผู้ร้ายแต่ที่อื่นมามั่วสุม ในตำบลนั้นก็ดี หรือมีเหตุควรสงสัยว่าลูกบ้านในตำบลนั้นบางคน จะเกี่ยวข้องเป็นโจรผู้ร้ายก็ดี เป็นหน้าที่ของกำนันจะต้องเรียก ผู้ใหญ่บ้านและลูกบ้านในตำบลออกช่วยต่อสู้ติดตามจับผู้ร้ายหรือ ติดตามเอาของกลางคืน หรือดับไฟ หรือช่วยอย่างอื่นตามควร แก่การโดยเต็มกำลัง

  27. มาตรา ๔๓... กำนันกระทำการตามหน้าที่ จะเรียกผู้ใด มาหารือให้ช่วยก็ได้ มาตรา ๕๑... ให้กำนันเรียกประชุมคณะกรรมการตำบล ไม่น้อยกว่าเดือนละหนึ่งครั้ง

  28. พระราชบัญญัติ สภาตำบลและองค์การบริหาร ส่วนท้องถิ่น พุทธศักราช ๒๕๓๗

  29. อำนาจหน้าที่นายกองค์การบริหารส่วนตำบลอำนาจหน้าที่นายกองค์การบริหารส่วนตำบล มาตรา ๕๙... นายกองค์การบริหารส่วนตำบล มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้... (๑) กำหนดนโยบายโดยไม่ขัดต่อกฎหมาย และรับผิดชอบในการบริหารราชการขององค์การบริหารส่วนตำบลให้เป็นไปตามกฎหมายนโยบาย แผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล ข้อบัญญัติ ระเบียบ และข้อบังคับของทางราชการ (๒) สั่ง อนุญาต และอนุมัติเกี่ยวกับราชการของ องค์การบริหารส่วนตำบล

  30. (๓) แต่งตั้ง และถอดถอน รองนายกองค์การบริหาร ส่วนตำบล และเลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนตำบล (๔) วางระเบียบเพื่อให้งานขององค์การบริหารส่วนตำบลเป็นไปด้วยความเรียบร้อย (๕) รักษาการให้เป็นไปตามข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล (๖) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ และกฎหมายอื่น

  31. อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล มาตรา ๖๖องค์การบริหารส่วนตำบล มีอำนาจหน้าที่ ในการ พัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา ๖๗ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้ (๑) จัดให้มีและบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก (๒) รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล (๓) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ (๔) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

  32. (๕) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (๖) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ (๗) คุ้มครอง ดูแล และบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (๘) บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น (๙) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมาย โดยจัดสรร งบประมาณ หรือบุคลากรให้ตามความจำเป็นและสมควร

  33. มาตรา ๖๘ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตำบล อาจจัดทำกิจการในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้ (๑) ให้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตร (๒) ให้มีและบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น (๓) ให้มีและบำรุงรักษาทางระบายน้ำ (๔) ให้มีและบำรุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ (๕) ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจการสหกรณ์ (๖) ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว (๗) บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร (๘) การคุ้มครองดูแล และรักษาทรัพย์สิน อันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน

  34. (๙) หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนตำบล (๑๐) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม (๑๑) กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์ (๑๒) การท่องเที่ยว (๑๓) การผังเมือง มาตรา ๖๙ อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลตามมาตรา ๖๖ มาตรา ๖๗ และมาตรา ๖๘ นั้น ไม่เป็นการตัดทอนอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ ในอันที่จะดำเนินกิจการใด ๆ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในตำบลแต่ต้องแจ้งให้องค์การบริหารส่วนตำบลทราบล่วงหน้าตามสมควร ในกรณีนี้หากองค์การบริหารส่วนตำบลมีความเห็นเกี่ยวกับการดำเนินกิจการดังกล่าว ให้กระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การ หรือหน่วยงานของรัฐ นำความเห็นขององค์การบริหารส่วนตำบลไปประกอบการพิจารณาดำเนินกิจการนั้นด้วย

  35. มาตรา ๖๙/๑การปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน โดยวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และให้คำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล การจัดทำงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบ การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับว่าด้วยการนั้น และหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด

  36. พระราชบัญญัติ กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พุทธศักราช ๒๕๔๒

  37. การกำหนดอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการกำหนดอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบ การบริการสาธารณะ มาตรา ๑๖ ให้เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบล มีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ดังนี้ (๑) การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง (๒) การจัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก ทางน้ำ และทางระบายน้ำ (๓) การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่จอดรถ (๔) การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่น ๆ (๕) การสาธารณูปการ (๖) การส่งเสริม การฝึก และประกอบอาชีพ (๗) การพาณิชย์ และการส่งเสริมการลงทุน

  38. (๘) การส่งเสริมการท่องเที่ยว (๙) การจัดการศึกษา (๑๐) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส (๑๑) การบำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดี ของท้องถิ่น (๑๒) การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย (๑๓) การจัดให้มีและบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ (๑๔) การส่งเสริมกีฬา (๑๕) การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน (๑๖) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น (๑๗) การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง (๑๘) การกำจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้ำเสีย (๑๙) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล (๒๐) การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน

  39. (๒๑) การควบคุมการเลี้ยงสัตว์ (๒๒) การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์ (๒๓) การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการอนามัย โรงมหรสพ และสาธารณสถานอื่น ๆ (๒๔) การจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (๒๕) การผังเมือง (๒๖) การขนส่งและการวิศวกรรมจราจร (๒๗) การดูแลรักษาที่สาธารณะ (๒๘) การควบคุมอาคาร (๒๙) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (๓๐) การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกันและรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (๓๑) กิจการอื่นใดที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด

  40. แผนผังโครงสร้าง / อำนาจหน้าที่ คณะกรรมการศูนย์ประสานงาน รักษาความปลอดภัย ประจำท้องถิ่น (ศปถ.)

  41. แผนผังโครงสร้าง คณะกรรมการศูนย์ประสานงานฯ เทศบาลตำบล (ศปถ.ทต.) ที่ปรึกษา - ผบก.ภ.จว. - รอง ผบก.ภ.จว. - นายอำเภอ / ปลัดอำเภอ - ผกก., รอง ผกก.ป. - ผอ.โรงเรียนในเขต - กต.ตร.สภ. ประธานคณะกรรมการ • ชุดปฏิบัติ • สายตรวจตำบล • อปพร. • อส. นายกเทศมนตรี รองประธาน ๑. รอง ผกก.ป. หรือ สวป. (๑) ๒. กำนัน (๒) • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ • หน.ศูนย์พลังแผ่นดิน • หน.อปพร. • หน.อสม. • สาธารณสุขตำบล • กรรมการโดยตำแหน่ง • ประธานชุมชน • ผบญ. • สท. • รอง สวป. • ตร.ชมส. • สายตรวจตำบล • ฝ่ายเลขาฯ • ปลัด ทต./เลขา • หน.สายตรวจตำบล • / ผู้ช่วย

  42. แผนผังโครงสร้าง คณะกรรมการศูนย์ประสานงานฯ องค์บริหารส่วนตำบล (ศปถ.อบต.) ที่ปรึกษา - ผบก.ภ.จว. - รอง ผบก.ภ.จว. - นายอำเภอ / ปลัดอำเภอ - ผกก., รอง ผกก.ป. - ผอ.โรงเรียนในเขต - กต.ตร.สภ. ประธานคณะกรรมการ • ชุดปฏิบัติ • สายตรวจตำบล • อปพร. • อส. นายก อบต. รองประธาน ๑. รอง ผกก.ป. หรือ สวป. (๑) ๒. กำนัน (๒) • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ • หน.ศูนย์พลังแผ่นดิน • หน.อปพร. • หน.อสม. • สาธารณสุขตำบล • กรรมการโดยตำแหน่ง • สารวัตรกำนัน • ผบญ./ ผช.ผญบ. • สอบต. • รอง สวป. • ตร.ชมส. • สายตรวจตำบล • ฝ่ายเลขาฯ • ปลัด อบต./เลขา • หน.สายตรวจตำบล • / ผู้ช่วย

  43. อำนาจหน้าที่.... - รวบรวมปัญหายาเสพติด ความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินในชุมชน - เสนอแนะแนวทางและมาตรการในการป้องกัน อาชญากรรม - สืบสวนหาข่าว

  44. - ประสานงานการรับแจ้งความเป็นหลักฐาน และ อำนวยความยุติธรรมเบื้องต้น - ประนีประนอมข้อพิพาททางแพ่ง และคดีอาญาที่ ยอมความได้ในเบื้องต้น - จัดให้มีการประชุม อย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง

  45. สถานที่ทำการ... ใช้สถานที่ส่วนหนึ่งในที่ทำการ เทศบาลตำบล หรือ อบต. โดยสนับสนุนเครื่องมือเครื่องใช้ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ โทรศัพท์ เป็นต้น

  46. เป้าหมาย..... เพื่อให้ชุมชนมีความสงบสุข ปลอดจากปัญหายาเสพติด ป้องกัน ตนเองและทรัพย์สิน... เพื่อเสริมสร้างชุมชน หมู่บ้าน ให้เข้มแข็ง...

  47. ประโยชน์ ศปถ... ๑. เพื่อเป็นศูนย์ข้อมูลข่าวสาร ๒. การประสานงานระหว่างหน่วยงาน กระชับ รวดเร็ว ใช้อำนาจหน้าที่ ตามกฎหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๓. ประชาชนในพื้นที่ได้รับประโยชน์สูงสุด คือ หมู่บ้านปลอดภัย มีความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน

  48. คดีวิสามัญนายสันติภาพ พุ่มพวง ฉายา " โต๊ด เขาย้อย " เมื่อวันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๕ เวลาประมาณ ๑๘.๓๐ น. ผู้ต้องหาตามหมายจับคดีชิงทรัพย์และข่มขืน พื้นที่ สภ.เมืองราชบุรี และ สภ.เขาย้อย จว.เพชรบุรี

  49. ภาพวิสามัญนายสันติภาพ พุ่มพวง ฉายา " โต๊ด เขาย้อย "

  50. พล.ต.ท.หาญพล นิตย์วิบูลย์ ผบช.ภ.๗ , พล.ต.ต.โสภณ พิสุทธิวงษ์ รอง ผบช.ภ.๗ ร่วมตรวจสถานที่เกิดเหตุ

More Related