1 / 22

Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC

Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC. อุปกรณ์ไฟฟ้าพื้นฐาน. ตัวต้านทาน. ตัวเก็บประจุ. ตัวเหนี่ยวนำ. อุปกรณ์ไฟฟ้าพื้นฐาน. แบตเตอรี. แหล่งกำเนิดไฟฟ้า กระแสสลับ. สวิทช์. วงจร RL (Raising). สับสวิทช์ S 1 ณ เวลา. กระแสเริ่มไหลในวงจร. ค่าคงตัวเวลา.

barny
Download Presentation

Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC

  2. อุปกรณ์ไฟฟ้าพื้นฐาน ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ ตัวเหนี่ยวนำ

  3. อุปกรณ์ไฟฟ้าพื้นฐาน แบตเตอรี แหล่งกำเนิดไฟฟ้า กระแสสลับ สวิทช์

  4. วงจร RL (Raising) สับสวิทช์ S1 ณ เวลา กระแสเริ่มไหลในวงจร ค่าคงตัวเวลา ที่เวลา t =t จะมีกระแสไหลI = 0.63Io

  5. วงจร RL (Decay) เมื่อเวลาผ่านไปนานพอสมควร เปิดสวิทช์ S1 ปิดสวิทช์ S2 ค่าคงตัวเวลา ที่เวลา t =t จะมีกระแสไหลI = 0.37Io

  6. พลังงานที่เก็บสะสมในตัวเหนี่ยวนำพลังงานที่เก็บสะสมในตัวเหนี่ยวนำ เมื่อมีกระแสไหลผ่านตัวเหนี่ยวนำ พลังงานจะถูกสะสมไว้อยู่ในสนามแม่เหล็ก

  7. วงจร LC (Oscillating) สับสวิทช์ S ไปที่ตำแหน่ง a ตัวเก็บประจุจะถูกอัดประจุจนเต็ม พลังงานที่เก็บในตัวเก็บประจุคือ เมื่อสับสวิทช์ S ไปที่ตำแหน่ง b ตัวเก็บประจุจะคายประจุผ่านตัวเหนี่ยวนำ เกิดมีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร สมการฮาร์โมนิกเชิงเดียว

  8. วงจร LC (Oscillating) ความถี่ธรรมชาติของ วงจร LC

  9. E B พลังงานในวงจร LC พลังงานรวม พลังงานรวมคงที่ UC, ULเปลี่ยนกลับไปมา

  10. E B วงจร LC vsมวลที่ปลายสปริง

  11. วงจร RLC (Damped Osillation) เพิ่มความต้านทานในวงจรLC “สมการการแกว่งกวัดแบบหน่วง” “Oscillating” “Damping” พลังงานรวมจะลดลงเรื่อยๆ เนื่องจากมีการทำงานที่ตัวต้านทาน

  12. วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ (A.C. Circuit)

  13. แหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ในประเทศไทย f = 50 Hz ไฟฟ้าในบ้านในประเทศไทย Vrms = 220 V

  14. ตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ VRและ IRเปลี่ยนพร้อมกัน (เฟสตรงกัน)

  15. ตัวเก็บประจุในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับตัวเก็บประจุในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ VCมีเฟสตามหลัง ICอยู่ 90o

  16. ตัวเหนี่ยวนำในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับตัวเหนี่ยวนำในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ VLมีเฟสนำหน้า ILอยู่ 90o

  17. ความต้านทานจินตภาพ (Reactance) ในตัวเก็บประจุและตัวเหนี่ยวนำ V และ I ไม่ได้แปรผันตามกัน “Capacitive Reactance” “Inductive Reactance”

  18. วงจร RLC กระแสสลับ (A.C. Series RLC)

  19. วงจร RLC กระแสสลับ “Forced Oscillation” I มีเฟสต่างจาก V ของแหล่งกำเนิดอยู่เท่ากับ f

  20. ความต้านทานเชิงซ้อน (Impedance) “ความต้านทานเชิงซ้อน” (Impedance)

  21. เรโซแนนซ์ (Resonace) กระแสในวงจรจะไหลมากที่สุดเมื่อ XL = XC เมื่อความถี่ธรรมชาติของวงจรเท่ากับความถี่ของแหล่งกำเนิด เรียกความถี่นั้นว่า “ความถี่เรโซแนนซ์”

  22. กำลังไฟฟ้า กำลังเฉลี่ย “Power factor” ที่เรโซแนนซ์ power factor = 1 จะมีการจ่ายกำลังไฟฟ้าได้สูงสุด

More Related