1 / 22

กฎหมายเปรียบเทียบเพื่อการใช้งาน : กรณีศึกษา

กฎหมายเปรียบเทียบเพื่อการใช้งาน : กรณีศึกษา. หลักสูตรการพัฒนานักกฎหมายภาครัฐระดับต้น ศาสตราจารย์พิเศษ พรเพชร วิชิตชลชัย ผู้พิพากษาอาวุโสในศาลฎีกา. เพื่อเรียนรู้ ( knowledge). 1. เพื่อนำไปใช้ ( application). 2. เพื่อพัฒนาได้ ( development). 3. วัตถุประสงค์ของการศึกษากฎหมาย.

Download Presentation

กฎหมายเปรียบเทียบเพื่อการใช้งาน : กรณีศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กฎหมายเปรียบเทียบเพื่อการใช้งาน : กรณีศึกษา หลักสูตรการพัฒนานักกฎหมายภาครัฐระดับต้น ศาสตราจารย์พิเศษ พรเพชร วิชิตชลชัย ผู้พิพากษาอาวุโสในศาลฎีกา

  2. เพื่อเรียนรู้ (knowledge) 1 เพื่อนำไปใช้ (application) 2 เพื่อพัฒนาได้ (development) 3 วัตถุประสงค์ของการศึกษากฎหมาย

  3. ความยุติธรรม จึงมีความเป็นสากล หรือ เป็นธรรมชาติ (natural justice) คุณค่าของกฎหมาย คือ ความยุติธรรม (justice) กฎหมาย เป็นอารยธรรมของมนุษย์ (civilization) จึงต้องมีการพัฒนาเพื่อทำสิ่งที่มีอยู่ให้ดีขึ้น

  4. 1 การศึกษาเชิงประวัติศาสตร์ (historical study) 2 การศึกษาเชิงนิติปรัชญา (philosophical study) การศึกษาเชิงกฎหมายเปรียบเทียบ (comparative study) 3 การศึกษากฎหมายให้สูงขึ้นเพื่อพัฒนากฎหมาย(legal research and development) ได้แก่

  5. comparative legal study globalization harmonization of laws วัตถุประสงค์ของการศึกษากฎหมายเปรียบเทียบ

  6. ระบบกฎหมายที่สำคัญของโลกระบบกฎหมายที่สำคัญของโลก ระบบ Common law ระบบ civil law 2 ระบบ การศึกษากฎหมายเปรียบเทียบ ต้องเข้าในระบบกฎหมาย civil law และ common law เพราะเป็นพื้นฐานของ legal research

  7. อิทธิพลของระบบ civil law และ common law ในการพัฒนากฎหมาย อิทธิพลของระบบ civil law ใน กฎหมายมหาชน และ จัดตั้ง ระบบศาลคู่ อิทธิพลของระบบ common law ต่อการพิจารณาคดี ในศาลยุติธรรม และกฎหมาย วิธิสบัญญัติ สิทธิสภาพ นอกอาณาเขต การจัดทำ ประมวล กฎหมายหลัก

  8. การศึกษาวิเคราะห์กรณีกฎหมายวิธีสบัญญัติในศาลการศึกษาวิเคราะห์กรณีกฎหมายวิธีสบัญญัติในศาล ระบบ กล่าวหา ระบบ ไต่สวน Inquisitorial system accusatorial system

  9. อิทธิพลของระบบกล่าวหาในการพิจารณาคดีในศาลยุติธรรมอิทธิพลของระบบกล่าวหาในการพิจารณาคดีในศาลยุติธรรม • อิทธิพลจากผู้พิพากษาและนักกฎหมายที่จบจากประเทศ common law ในเรื่อง Burden of Proof • แนวคิดของปรมาจารย์ทางวิชาการกฎหมายลักษณะพยาน • แนวคิดของการศึกษาวิชากฎหมายลักษณะพยาน • คำพิพากษาศาลฎีกา • วัฒนธรรมและวิถีปฏิบัติของอัยการและทนายความ • การตอกย้ำโดยบทบัญญัติหลักกฎหมายเรื่องภาระการพิสูจน์ หรือ burden of proof ในการแก้ไขกฎหมายเมื่อปี 2550 (ป.วิ.พ. ฉบับที่ 23)

  10. 1. ศาลแรงงาน 2. ศาลปกครอง 3. ศาลรัฐธรรมนูญ 4. ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง 5. ศาลฎีกาแผนกคดีเลือกตั้ง 6. พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พัฒนาการของระบบไต่สวน

  11. กรณีศึกษาเรื่องที่ 2: อิทธิพลของแนวคิดหรือทฤษฎี ผลไม้ของต้นไม้ที่เป็นพิษ ความหมายของ the Exclusionary Rules ของ U.S Supreme Court

  12. 1 2 3 เป็นการตีความบทบัญญัติของกฎหมายรัฐธรรมนูญที่เป็นบทบัญญัติคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพของประชาชน เป็นการพิจารณา ถึงประสิทธิภาพ ของการบังคับใช้กฎหมายรัฐธรรมนูญที่คุ้มครองสิทธิ เสรีภาพ ความหมาย ของ หลักผลไม้ของต้นไม้ที่เป็นพิษ หลักการและสาระของ the Exclusionary Rulesต่อกฎหมายวิธีพิจารณาคดีและกฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน

  13. อิทธิพลของ the Exclusionary Rulesต่อกฎหมายวิธีพิจารณาคดีและกฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน 1. การชั่งดุลระหว่าง crime control กับ due process of law 2. การชั่งดุลระหว่างความน่าเชื่อถือของพยานหลักฐาน (probative value) กับวิธีการได้มาซึ่งพยานหลักฐานที่ไม่ชอบ (illegally obtained evidence)

  14. วิเคราะห์อิทธิพลของหลักผลไม้ของต้นไม้ที่เป็นพิษหรือ the Exclusionary Rules ในกฎหมายไทย ป.วิ.อ. มาตรา 226 บัญญัติว่า “พยานวัตถุ พยานเอกสาร หรือพยานบุคคลซึ่งน่าจะพิสูจน์ได้ว่าจำเลยมีผิดหรือบริสุทธิ์ ให้อ้างเป็นพยานหลักฐานได้ แต่ต้องเป็นพยานชนิดที่มิได้เกิดขึ้นจากการจูงใจ มีคำมั่นสัญญา ขู่เข็ญ หลอกลวงหรือโดยมิชอบประการอื่น และให้สืบตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่นอันว่าด้วยการสืบพยาน”

  15. แนวคำพิพากษาศาลฎีกาที่วินิจฉัย ป.วิ.อ. มาตรา 226 ที่ไม่รวมถึงพยานหลักฐานที่ได้มาโดยวิธีการที่ไม่ชอบ ฎ. 1547/2540 การตรวจค้น การจับกุมและการสอบสวนเป็นการดำเนินการคนละขั้นตอนกัน หากการตรวจค้นและจับกุมมิชอบด้วยกฎหมายก็เป็นเรื่องที่จะว่ากล่าวกันอีกส่วนหนึ่งต่างหาก เมื่อคดีนี้มีการสอบสวนโดยพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบตามกฎหมายแล้ว แม้การตรวจค้นและจับกุมมีปัญหาว่าอาจไม่ชอบด้วยกฎหมาย ก็หากระทบกระเทือนถึงการฟ้องคดีอาญาไม่ ทั้งจำเลยมิได้ฎีกาว่าการสอบสวนไม่ชอบเพราะเหตุผลอื่นๆ อีก จึงต้องถือว่าการสอบสวนในความผิดที่กล่าวหาตามฟ้องนั้นชอบแล้ว ศาลรับฟังพยานหลักฐานที่ได้จากการตรวจค้นได้

  16. ฎ. 6475/2547 การที่ศาลออกหมายค้นบ้านของจำเลยโดยระบุเลขที่บ้านเป็นเลขที่ 74 ตามที่เจ้าพนักงานตำรวจร้องขอแล้ว ร้อยตำรวจเอก ก. แก้เลขที่บ้านในหมายค้นเป็นเลขที่ 161 เพื่อให้ตรงกับความจริงโดยไม่มีอำนาจ อันอาจมีผลให้หมายค้นเสียไปและการค้นไม่ชอบด้วยกฎหมายก็เป็นเรื่องที่จะต้องไปว่ากล่าวกันอีกส่วนหนึ่งต่างหาก เมื่อปรากฏว่าคดีมีการสอบสวนกันโดยชอบ ทั้งในชั้นพิจารณาจำเลยก็นำสืบยอมรับว่าเจ้าพนักงานตำรวจตรวจค้นพบเฮโรอีนของกลางฝังอยู่ในดินห่างจากบ้านของจำเลยประมาณ 3 เมตร จากพยานหลักฐานที่โจทก์นำสืบมาย่อมรับฟังลงโทษจำเลยได้

  17. ข้อพิจารณาที่ควรพิเคราะห์ข้อพิจารณาที่ควรพิเคราะห์ ข้อแตกต่างกันระหว่างอำนาจฟ้องคดีอาญาและการไต่สวนมูลฟ้องในกฎหมายอเมริกันและกฎหมายไทย ป.วิ.อ. มาตรา 120 การสอบสวนเป็นเงื่อนไขของการฟ้องคดีต่อศาลของพนักงานอัยการ แต่คดีที่ราษฎรเป็นโจทก์ ศาลต้องไต่สวนมูลฟ้องก่อน ตามกฎหมายอเมริกัน การจะฟ้องคดีอาญาต่อศาลต้องมีการไต่สวนมูลฟ้องในศาล หรือการไต่สวนมูลฟ้องโดยคณะลูกขุนใหญ่ก่อน (grand jury indictment)

  18. การแก้ไขกฎหมายเมื่อปี 2547 (ป.วิ.อ. ฉบับที่ 22) มาตรา 84 วรรคท้าย บัญญัติว่า “ถ้อยคำใดๆ ที่ผู้ถูกจับให้ไว้ต่อเจ้าพนักงานผู้จับ หรือพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจในชั้นจับกุมหรือรับมอบตัวผู้ถูกจับ ถ้าถ้อยคำนั้นเป็นคำรับสารภาพของผู้ถูกจับว่าตนได้กระทำ ความผิดห้ามมิให้รับฟังเป็นพยานหลักฐาน แต่ถ้าเป็นถ้อยคำ อื่น จะรับฟังเป็นพยานหลักฐานในการพิสูจน์ความผิดของผู้ถูกจับได้ต่อเมื่อได้มีการแจ้งสิทธิตามวรรคหนึ่ง หรือตามมาตรา 83 วรรคสอง แก่ผู้ถูกจับแล้วแต่กรณี”

  19. มาตรา 134/4 วรรคท้าย บัญญัติว่า “ถ้อยคำใดๆ ที่ผู้ต้องหาให้ไว้ต่อพนักงานสอบสวนก่อนมีการแจ้งสิทธิตามวรรคหนึ่ง หรือก่อนที่จะดำเนินการตามมาตรา 134/1 มาตรา 134/2 และมาตรา 134/3 จะรับฟังเป็นพยานหลักฐานในการพิสูจน์ความผิดของผู้นั้นไม่ได้”

  20. การแก้ไขกฎหมายเมื่อปี 2551 (ป.วิ.อ. ฉบับที่ 28) มาตรา 226/1 บัญญัติว่า “ในกรณีที่ความปรากฏแก่ศาลว่าพยานหลักฐานใดเป็นพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยชอบแต่ได้มาเนื่องจากการกระทำโดยมิชอบ หรือเป็นพยานหลักฐานที่ได้มาโดยอาศัยข้อมูลที่เกิดขึ้นหรือได้มาโดยมิชอบ ห้ามมิให้ศาลรับฟังพยานหลักฐานนั้น เว้นแต่การรับฟังพยานหลักฐานนั้นจะเป็นประโยชน์ต่อการอำนวยความยุติธรรมมากกว่าผลเสียอันเกิดจากผลกระทบต่อมาตรฐานของระบบงานยุติธรรมทางอาญาหรือสิทธิเสรีภาพพื้นฐานของประชาชน ในการใช้ดุลพินิจรับฟังพยานหลักฐานตามวรรคหนึ่ง ให้ศาลพิจารณาถึงพฤติการณ์ทั้งปวงแห่งคดี โดยต้องคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ด้วย (1) คุณค่าในเชิงพิสูจน์ ความสำคัญ และความน่าเชื่อถือของพยานหลักฐานนั้น (2) พฤติการณ์และความร้ายแรงของความผิดในคดี (3) ลักษณะและความเสียหายที่เกิดจากการกระทำโดยมิชอบ (4) ผู้ที่กระทำการโดยมิชอบอันเป็นเหตุให้ได้พยานหลักฐานมานั้นได้รับการลงโทษหรือไม่เพียงใด”

  21. ของฝากนักกฎหมาย “You now see complexity when you once saw simplicity; you see grays rather than black and white. But this is to the good because the world is in fact complicated.” Dean Elena Kagan of Harvard Law School.

  22. Questions & Comments

More Related