1 / 15

แรงระหว่างโมเลกุล Intermolecular Forces

แรงระหว่างโมเลกุล Intermolecular Forces. 13-2 แรงระหว่างโมเลกุล. เป็นแรงที่ค่อนข้างอ่อนเมื่อเทียบกับแรงภายในโมเลกุลซึ่งเป็นพันธะโคเวเลนต์และพันธะไอออนิก. 1. แรงระหว่างโมเลกุลที่มีขั้ว ( Dipole-dipole interaction ) 2 . พันธะไฮโดรเจน ( Hydrogen bonding )

Download Presentation

แรงระหว่างโมเลกุล Intermolecular Forces

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แรงระหว่างโมเลกุล Intermolecular Forces

  2. 13-2 แรงระหว่างโมเลกุล เป็นแรงที่ค่อนข้างอ่อนเมื่อเทียบกับแรงภายในโมเลกุลซึ่งเป็นพันธะโคเวเลนต์และพันธะไอออนิก 1. แรงระหว่างโมเลกุลที่มีขั้ว (Dipole-dipole interaction) 2. พันธะไฮโดรเจน (Hydrogen bonding) 3. แรงวันเดอร์วาลส์(van der Waals force)หรือ แรงลอนดอน (London force) หรือแรงแผ่กระจาย (Dispersion force)

  3. 1. แรงระหว่างโมเลกุลที่มีขั้ว * เกิดระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์มีขั้วเนื่องจากการดึงดูดของ +–atom ของโมเลกุลหนึ่งกับ ––atomของอีกโมเลกุลหนึ่ง * แปรตาม 1/d4(d = ระยะห่างระหว่างโมเลกุล) * เป็นแรงที่อ่อนมาก และมีผลในระยะสั้นมากๆ * แรงนี้เป็นเหตุให้โมเลกุลที่มีขั้วมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลว สูงกว่าโมเลกุลที่ไม่มีขั้วเมื่อเปรียบเทียบระหว่างโมเลกุลที่มี น้ำหนักโมเลกุลใกล้เคียงกัน

  4. (Chemistry 8e, Whitten, Cengage/Brookscole, 2007, page 451)

  5. 2. พันธะไฮโดรเจน * เป็นแรงไดโพล-ไดโพลที่แรงมากๆ * เกิดระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์มีขั้วที่มี H และธาตุที่มี EN สูงมากๆ (F, O และ N) * ความแข็งแรงของพันธะไฮโดรเจนขึ้นกับค่า EN ของอะตอม ที่เกิดพันธะกับไฮโดรเจน * เมื่อเปรียบเทียบสารสองสารที่มี MW ใกล้เคียงกัน สารที่ สามารถเกิดพันธะไฮโดรเจนจะมีจุดเดือดสูงกว่ามาก

  6. (Chemistry 8e, Whitten, Cengage/Brookscole, 2007, page 452)

  7. (Chemistry 8e, Whitten, Cengage/Brookscole, 2007, page 452)

  8. 3. แรงวันเดอร์วาลส์ หรือ แรงลอนดอน หรือ แรงแผ่กระจาย * เกิดจากการแรงดึงดูดของประจุบวกที่นิวเคลียสของอะตอม หนึ่งกับกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนของอะตอมที่อยู่ใกล้ ทำให้เกิด ขั้วชั่วคราว (temporary dipole) * มีความสำคัญในระยะสั้นมากๆ (แปรตาม 1/d7) * ปัจจัยที่สำคัญที่มีผลต่อแรงนี้ ได้แก่ น้ำหนักโมเลกุล สารที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูง จะยิ่งมีแรงวันเดอร์วาลส์มากกว่า

  9. (Chemistry 8e, Whitten, Cengage/Brookscole, 2007, page 453)

  10. (Chemistry 8e, Whitten, Cengage/Brookscole, 2007, page 453-454)

  11. (Chemistry 8e, Whitten, Cengage/Brookscole, 2007, page 454)

  12. เปรียบเทียบความแรงของแรงระหว่างโมเลกุลเปรียบเทียบความแรงของแรงระหว่างโมเลกุล พันธะไฮโดรเจน > แรงไดโพล-ไดโพล > แรงแผ่กระจาย

  13. ตัวอย่าง 13-1 แรงระหว่างโมเลกุล จงระบุชนิดของแรงระหว่างโมเลกุลของสารต่อไปนี้ซึ่งอยู่ในเฟสควบแน่น (a) H2O (b) I2 (c) NO2 (a) H2O : H-bonding, London force

  14. (b) I2 : London force (c) NO2 : Dipole-dipole force, London force 14

  15. What is the nature of the intermolecular forces in a mixture of CS2 and acetone? Dipole-induced dipole forces

More Related