1 / 30

สรุปสาระสำคัญ

สรุปสาระสำคัญ. นโยบายและแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ ด้านการพัฒนาเด็ก ตามแนวทาง “ โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก ” (พ.ศ. 2550 - 2559 ). โดย สุวิจิตร ศาตะมาน ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและพิทักษ์เด็ก สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ.

Download Presentation

สรุปสาระสำคัญ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปสาระสำคัญ นโยบายและแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ ด้านการพัฒนาเด็กตามแนวทาง“โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก ” (พ.ศ.2550 - 2559) โดย สุวิจิตร ศาตะมาน ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและพิทักษ์เด็ก สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ

  2. ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมัยพิเศษ สมัยที่ ๒๗ ว่าด้วยเรื่องเด็ก (United Nations General Assembly Special Session on Children : UNGASS) ระหว่างวันที่ ๘-๑๐ พฤษภาคม ๒๕๔๕ ณ นครนิวยอร์ก เอกสารแนวทาง “โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก”ของสหประชาชาติ (A World Fit for Children) ๑ ตุลาคม ๒๕๔๕ ครม. มอบหมาย สท.กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ จัดทำนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ ด้านการพัฒนาเด็กตามแนวทาง“โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก” ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  3. โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็กโลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก สหประชาชาติ...กำหนด 4 เรื่องหลัก 1. ส่งเสริมคุณภาพชีวิต 2. จัดการศึกษาที่มีคุณภาพ 3. ปกป้องเด็กจากการถูกละเมิดหรือแสวงหาผลประโยชน์และความรุนแรง 4. ต่อต้าน HIV/AIDS

  4. กระบวนการได้มา..... นโยบายและแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ ด้านการพัฒนาเด็กตามแนวทาง“โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็กของไทย • คณะอนุกรรมการจัดทำนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ ด้านการพัฒนาเด็กตามแนวทาง“โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก ....ดร.สายสุรี จุติกุล .....ประธาน • เด็กทุกกลุ่มทั่วประเทศจำนวนประมาณ 12,000 คน ได้มีส่วนร่วม • หน่วยงานทุกภาคส่วน

  5. สาระสำคัญของนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติด้านการพัฒนาเด็กสาระสำคัญของนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติด้านการพัฒนาเด็ก ตามแนวทาง“โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก ” (พ.ศ.2550-2559)

  6. เนื้อหาของนโยบายและแผนยุทธศาสตร์เนื้อหาของนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ • วิสัยทัศน์: คุณลักษณะเด็กที่พึงประสงค์ • นโยบายระดับชาติ มี 9 ข้อ • ยุทธศาสตร์ร่วม(สำหรับทุกด้าน) มี 14 ข้อ • ยุทธศาสตร์เฉพาะด้าน มี 11 ด้าน • มาตรการหลักมีทั้งสิ้น 58 มาตรการ * เร่งด่วน 189 มาตรการ (5 ปีแรก ของแผน 2550-2554) * ระยะยาว 97 มาตรการ (10 ปี ของแผน 2550-2559)

  7. ยุทธศาสตร์เฉพาะด้าน 11 ด้าน 1. ด้านครอบครัวกับเด็ก 2. ด้านสุขภาพกายและ สุขภาพจิตของเด็ก 3. ด้านการเสริมสร้างความปลอดภัย และป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก 4. ด้านเด็กกับผลกระทบจากโรคเอดส์ 5. ด้านการศึกษากับเด็ก

  8. ยุทธศาสตร์เฉพาะด้าน 11 ด้าน (ต่อ) 6. ด้านเด็กกับนันทนาการ 7. ด้านเด็กกับวัฒนธรรมและศาสนา 8. ด้านสื่อมวลชนกับเด็ก 9. ด้านการมีส่วนร่วมของเด็ก 10. ด้านการปกป้องคุ้มครองเด็กที่ต้องการ การคุ้มครองเป็นพิเศษ 11. ด้านกฎหมาย

  9. สรุปภาพรวมของแต่ละยุทธศาสตร์สรุปภาพรวมของแต่ละยุทธศาสตร์ 1.ด้านครอบครัว • เสริมสร้างให้ครอบครัว ให้เวลาเลี้ยงดูบุตรที่ได้คุณภาพ • เสริมสร้างสภาพแวดล้อม/โอกาสทั้งทางด้านเศรษฐกิจสังคม • เสริมสร้างระบบการให้บริการแก่ครอบครัวที่เผชิญปัญหา • จัดบริการที่เด็กเข้าถึงได้สะดวก และมารดาหลังคลอดได้รับ • การดูแล

  10. 2. ด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิต • ส่งเสริมให้เด็กทุกคนต้องได้รับความรู้และการฝึกทักษะ • ให้มีร่างกายแข็งแรง • วัยรุ่นมีความรู้ความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธุ์ เพศศึกษา

  11. 3.ด้านการเสริมสร้างความปลอดภัย3.ด้านการเสริมสร้างความปลอดภัย และป้องกันการบาดเจ็บ • เร่งให้ความรู้แก่พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู ชุมชน และองค์กรต่างๆ เข้าใจวิธีการเสริมสร้างความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็กทุกประเภท

  12. 4. เด็กกับผลกระทบจากโรคเอดส์ • ให้ผู้เกี่ยวข้องกับเด็กได้เข้าใจปัญหาเกี่ยวกับ เอชไอวี/เอดส์ • ที่ถูกต้อง • รณรงค์ให้เลิกรังเกียจผู้ที่ติดเชื้อหรือเป็นเอดส์ โดยเฉพาะที่เป็นเด็ก

  13. 5. ด้านการศึกษากับเด็ก รณรงค์ให้ทุกพื้นที่ดูแลจัดการให้เด็กทุกคน ได้รับบริการการเรียนรู้ตามวัย

  14. 6. ด้านเด็กกับนันทนาการ • สร้างความรู้ด้านนันทนาการแก่พ่อแม่ ผู้ปกครอง • ผู้ทำงานด้านเด็ก ชุมชน และสังคม • สนับสนุนกิจกรรมนันทนาการรูปแบบต่างๆที่เหมาะสม

  15. 7. เด็กกับวัฒนธรรมและศาสนา • ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็กเข้าใจความหมายที่แท้จริง • และถูกต้องของคำว่า “วัฒนธรรมของชาติ” • ปลูกฝังค่านิยมเชิงวัฒนธรรมที่เป็นไปในทางบวก • และหลักปฏิบัติตนตามแก่นแท้ของศาสนา

  16. 8. สื่อมวลชนกับเด็ก • ส่งเสริมสื่อมวลชนมีความรู้ ความเข้าใจสิทธิเด็ก • และไม่ละเมิดสิทธิเด็ก

  17. 9. ด้านการมีส่วนร่วมของเด็ก • ส่งเสริมให้เด็กทุกคนมีส่วนร่วมตามวัย ในการเรียนรู้ • และการตัดสินใจในทุกเรื่องที่เกี่ยวกับตน • พัฒนาการรวมกลุ่มและองค์กรเด็ก

  18. 10. ด้านการปกป้องคุ้มครองเด็กที่ต้องการการคุ้มครองเป็นพิเศษ • จัดให้เด็กกลุ่มนี้ทุกคนได้รับบริการโดยสมบูรณ์ครบถ้วน • สนับสนุนผู้เกี่ยวข้องเข้าใจวิทยาการเฉพาะทางของเด็กกลุ่มนี้

  19. 11. ด้านกฎหมาย กฎ ระเบียบ • ให้การปรับปรุงแก้ไข และตรากฎหมาย • กฎ และระเบียบใหม่ที่เพิ่มความคุ้มครอง • ส่งเสริมการพัฒนาการดำเนินการ การบังคับใช้อย่างเคร่งครัด และมีประสิทธิผล

  20. โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก : จุดเน้นการดำเนินการแต่ละช่วงวัย 0-5 ปี การเตรียมความพร้อมรอบด้านเพื่อให้มีพัฒนาการอย่างถูกต้อง เหมาะสมตามวัย 6-12 ปี การได้รับการศึกษา การปรับพฤติกรรมและการพัฒนาทักษะที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิตเหมาะสมตามวัย 13-18 ปี

  21. การผลักดันเพื่อเป็นนโยบายระดับชาติการผลักดันเพื่อเป็นนโยบายระดับชาติ ครม. ได้ประชุม วันที่ 1 พฤษภาคม2550 และมีมติ 1. เห็นชอบในนโยบายและแผนฯ และประกาศใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาเด็กของทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. ให้จัดทำแผนปฏิบัติการระยะสั้น 3 ปี (พ.ศ.2550-2552) แผนบูรณาการระดับชาติ แผนบูรณาการระดับจังหวัด 3. ให้กระทรวงที่รับผิดชอบสนับสนุนการดำเนินงาน ให้เกิดการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม

  22. สท.ขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติของหน่วยงานสท.ขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติของหน่วยงาน * เผยแพร่สาระสำคัญและประสานขอให้หน่วยงานนำไปใช้เป็นกรอบทิศทาง การดำเนินงานโดยบูรณาการกับภารกิจของหน่วยงาน * ร่วมกับหน่วยงานจัดทำเป็นแผนปฏิบัติการช่วงแรก 3 ปี (2550- 2552) * รายงานต่อสหประชาชาติ 11-13 ธันวาคม 2550 * ติดตามประเมินผลในช่วง 3 ปี (2550-2552 ) *ทำแผนปฏิบัติการระยะที่สอง 4 ปี ( 2553-2556) และระยะสุดท้าย ( 2557-2559) และติดตามประเมินผลต่อไป

  23. ทิศทางการขับเคลื่อนใน 4 ปี 2553-2556 *ร่วมกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ (กระทรวง กรม กอง) องค์กรเอกชน องค์กรเด็กและเยาวชน จัดทำ ร่างแผนปฏิบัติการระดับประเทศ ระยะกลาง 4 ปี พ.ศ.2553-2556 (เมื่อ 13-15 มิ.ย.2553 ) *ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆให้เกิดแผนปฏิบัติการฯที่สมบูรณ์ และมีโครงการรองรับ ระดับประเทศ

  24. ทิศทางการขับเคลื่อนใน 4 ปี ข้างหน้า (ต่อ) * ขอความร่วมมือหน่วยงานระดับจังหวัด ทุกจังหวัดนำนโยบายและ แผนยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาเด็กระดับชาติตามแนวทาง “โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก”เป็นกรอบความคิดในการจัดทำ แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาเด็กระดับจังหวัดช่วงพ.ศ. 2553-2556 โดยเชื่อมร้อยเป็นหนึ่งเดียวกับ“จังหวัดน่าอยู่สำหรับเด็กและเยาวชน” ตามวาระเด็กและเยาวชน เมืองน่าอยู่ ตำบลน่าอยู่สำหรับเด็กและเยาวชน • ระดับจังหวัด

  25. กรอบคิด “จังหวัดน่าอยู่สำหรับเด็ก” ตามแนวทางโลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก * มุ่ง “การสร้างความพร้อมให้แก่เด็กก่อนเผชิญ ปัญหา/สภาพแวดล้อมทางสังคมต่างๆ” ไปพร้อมกับ “การเตรียมสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม สำหรับเด็ก” * ให้ความสำคัญกับเด็กทุกกลุ่ม (กลุ่มปกติ/มีปัญหา/ ด้อยโอกาส)

  26. แผนยุทธศาสตร์จังหวัด-เมืองน่าอยู่สำหรับเด็กและเยาวชนแผนยุทธศาสตร์จังหวัด-เมืองน่าอยู่สำหรับเด็กและเยาวชน ดร. อมรวิชช์ นาครทรรพ, 2549

  27. ความเชื่อมโยงมิติจังหวัดน่าอยู่ & ตำบลน่าอยู่& โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก ยุทธศาสตร์ของโลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก จังหวัดน่าอยู่สำหรับเด็กและเยาวชน ตำบลน่าอยู่สำหรับเด็กและเยาวชน * ครอบครัว * สุขภาพกายและจิต * ความปลอดภัยและการบาดเจ็บ * ผลกระทบจากเอดส์ * การศึกษา * นันทนาการ * วัฒนธรรมและศาสนา * สื่อมวลชน * การมีส่วนร่วม * ปกป้องคุ้มครอง * กฎหมายที่เกี่ยวกับเด็ก * ครอบครัว * สุขภาพ *ความปลอดภัย *การศึกษา *นันทนาการ วัฒนธรรม ศาสนาและการมีส่วนร่วม *ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของเด็ก *การป้องกันคุ้มครองเด็ก ที่ต้องการการคุ้มครองเป็นพิเศษ * เมืองปลอดภัย * เมืองสุขภาพ * เมืองครอบครัว * เมืองแห่งการเรียนรู้ * เมืองที่คุ้มครองสิทธิเด็กและเยาวชน *เมืองที่เด็กและเยาวชน มีส่วนร่วม * เมืองปลอดจากปัจจัยเสี่ยง

  28. จุดเน้นเรื่องเด็กในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 ส่งเสริมการเกิดของเด็ก ที่มีคุณภาพ เสริมสร้างความรู้พื้นฐานที่มีคุณภาพ ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต คิดเป็น ทำเป็น ส่งเสริมเรียนรู้ทักษะชีวิตที่เหมาะสม ส่งเสริมมีความรู้คู่คุณธรรม การสั่งสม ต่อยอด และสร้างนวัตกรรมความรู้

  29. ผลประโยชน์ต่อเด็ก เยาวชน หน่วยงาน *เด็กได้รับการพัฒนาแบบองค์รวมในทุกด้าน *เกิดการประสานบูรณาการแนวคิดระดับชาติ ส่วนกลาง จังหวัด เป็นภาพรวมการพัฒนาเด็กและเยาวชน โดยการมีส่วนร่วมของหน่วยงาน เครือข่ายทุกภาคส่วน *จังหวัดมีหน่วยประสานรับผิดชอบงานภาพรวม ด้านเด็กและเยาวชน เช่น พมจ.ฯลฯ เพื่อการส่งเสริมขับเคลื่อน

  30. ด้วยความขอบคุณและสวัสดีด้วยความขอบคุณและสวัสดี

More Related