1 / 15

นาง ราณี วงศ์ ลุน นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ

Download Presentation

นาง ราณี วงศ์ ลุน นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ๑.โครงการ/กิจกรรม ตามยุทธศาสตร์ที่ ๔ : ส่งเสริมและพัฒนาทุนชุมชนเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : กองทุนชุมชนมีธรรมภิบาลและมั่นคงกลยุทธ์ ๔.๑ ส่งเสริมธรรมาภิบาลของกองทุนชุมชน-กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตมีการสวัสดิการกลยุทธ์ ๔.๒ พัฒนาทุนชุมชนให้มั่นคง-ชุมชนที่ใช้ฐานข้อมูลและทุนชุมชนแก้ไขปัญหาและใช้ประโยชน์ในชุมชน๒.งานที่ได้รับมอบ-กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต-โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.)-สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน-ธนาคารข้าว ธนาคารใจ เทิดไท้องค์ราชัน สร้างสรรค์ ๕๐ ปี กรมการพัฒนาชุมชน คน ๑๐๑ นางราณี วงศ์ลุน นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ

  2. กรอบแนวทางการขับเคลื่อนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่มีการจัดสวัสดิการชุมชน ฐานข้อมูล/เป้าหมาย ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลลัพธ์ จนท.พช.มีความรู้ความเข้าใจและได้ข้อมูลกลุ่มเป้าหมายที่ดำเนินงาน ๑โครงการตามยุทธศาสตร์กรม.พช.ปี๕๕ ๒.พัฒนาเจ้าหน้าที่พช.เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ๓.กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการจังหวัด/อำเภอ ๔.กิจกรรมร่วมกับหน่วยงานภาคี ๕.พัฒนาศักยภาพ คณะกรรมการเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตระดับ ตำบล อำเภอ จังหวัด ๖.คู่มือ/เอกสารที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนที่ ๑. .ชี้แจงสร้างความเข้าใจแก่เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องและดำเนินการประชุมคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายทีจะดำเนินการ (ดำเนินการในเดือน ธ.ค.๕๔ ระดับจังหวัด/อำเภอ) ฐานข้อมูลกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตทั้งหมดจำนวน ๒,๒๓๓ กลุ่ม ขั้นตอนที่ ๒ .ทบทวน/สร้างความเข้าใจแก่คณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์ และจัดทำแผนปฏิบัติการสนับสนุนการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (เดือน มค.-กพ.๕๕ ดำเนินการระดับกลุ่ม) กรรมการกลุ่มออมทรัพย์ฯมีความรู้ความเข้าในในแนวทางการดำเนินงานและมีแผนปฏิบัติการสนับสนุนการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ ๓ ดำเนินการตามแผนเพื่อส่งเสริม/สนับสนุน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จัดสวัสดิการชุมชนแก่สมาชิกหรือชุมชน อย่างน้อย ๒ กิจกรรมขึ้นไป ได้แก่ ๑) ทุนการศึกษา ๒) ทุนชดเชยค่ารักษาพยาบาล ๓) ทุนฌาปนกิจสงเคราะห์ ๔)ทุนสงเคราะห์ผู้พิการ/ผู้ด้อยโอกาส ๕) ทุนสาธารณประโยชน์ (ดำเนินการในเดือน มีค.-มิ.ย..๕๕ ๑) มีการจัดเวทีประชาคมเพื่อขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ ๒) มีการสนับสนุนให้สามารถมีการจัดสวัสดิการในกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เป้าหมายปี ๕๕ ร้อยละ ๔๐ จำนวน ๘๙๓ กลุ่ม (รายละเอียดดามเอกสารแนบ) ขั้นตอนที่ ๔ จัดเก็บ/รวบรวมข้อมูล ผลการดำเนินงาน เก็บหลักฐานเชิงประจักษ์ (รายงานผลการดำเนินงานทุกเดือน ตามแบบที่กำหนด) หลักฐานเชิงประจักษ์ ประกอบผลการดำเนินงาน เอกสารสรุปผลการดำเนินงาน เอกสารถอดบทเรียน ขั้นตอนที่ ๕ ติดตาม /ประเมินผล/สรุปผล/ถอดบทเรียน (ติดตามการดำเนินงานทุกระยะ)

  3. กรอบแนวทางการขับเคลื่อนชุมชนที่ใช้ฐานข้อมูลและทุนชุมชนแก้ไขปัญหาและใช้ประโยชน์ในชุมชนกรอบแนวทางการขับเคลื่อนชุมชนที่ใช้ฐานข้อมูลและทุนชุมชนแก้ไขปัญหาและใช้ประโยชน์ในชุมชน ฐานข้อมูล/เป้าหมาย ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลลัพธ์ ๑.ทุนที่ไม่ใช่เงิน ที่มีอยู่ในชุมชน -ทุนกายภาพ -ทุนมนุษย์ -ทุนทางสังคม ๒โครงการตามยุทธศาสตร์รม.พช.ปี๕๕ ๓.พัฒนาเจ้าหน้าที่พช.เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านทุน ๔.กิจกรรมร่วมกับหน่วยงานภาคี ๕.คู่มือ/เอกสารที่เกี่ยวข้อง ๑. ชี้แจงสร้างความเข้าใจแก่เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องและคัดเลือกหมู่บ้านเป้าหมาย (เดือน มค.๕๔) ๒) เผยแพร่องค์ความรู้ทุนที่ไม่ใช่เงิน (ดำเนินการในเดือน มค.-กพ.๕๕) ๓) ลงทะเบียนทุนชุมชนที่ไม่ใช่เงิน และจัดลำดับ (ดำเนินการในเดือน มค.-มี.ค.๕๕) ๔) จัดทำแผนขับเคลื่อนและดำเนินการตามแผน (ดำเนินการในเดือน มค.-มี.ค.๕๕) ๕) ประสานการสนับสนุนกับองค์กรปกครองท้องถิ่นและภาคีที่เกี่ยวข้อง (ดำเนินการในเดือน มค.-ก.ค.๕๕) ๖.การรายงาน/ติดตามประเมินผล ฐานข้อมูลจาก หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง(จำนวน ๒,๔๔๔ หมู่บ้าน) ๑.เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนมีความรู้ความเขาใจในแนวทางการดำเนินงานและได้หมู่บ้านเป้าหมาย ๒.ชุมชนมีการดำเนินใช้ฐานข้อมูลในการแก้ไขปัญหาและใช้ประโยชน์ในชุมชน ๓.หมู่บ้านจำนวน ๒๐ หมูบ้านดำเนินการขับเคลื่อนชุมชนที่ใช้ฐานข้อมูลและทุนชุมชนแก้ไขปัญหาและใช้ประโยชน์ในชุมชน ๔สรุปผลการดำเนินงาน เป้าหมายดำเนินการจำนวน ๒๐ บ้าน อำเภอละ ๑หมู่บ้าน

  4. หมู่บ้าน/ชุมชน ACTION วิเคราะห์ข้อมูลทุนชุมชน ทุนชุมชน แนวทางที่ ๒ แนวทางที่ ๑ • แผนปฏิบัติงานประจำปี • หน่วยงาน/ภาคี แผนชุมชน โครงการ กิจกรรม ๑ ๓ ๒ ทำให้ ทำร่วม ทำเอง ACTION

  5. กรอบแนวทางการขับการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตกรอบแนวทางการขับการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ฐานข้อมูล/เป้าหมาย ผลลัพธ์ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ • ๑.ชี้แจงสร้างความเข้าใจแก่เจ้าหน้าที่เกี่ยวข้อง • และเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์จะดำเนินการ • (ดำเนินการในเดือน ธ.ค.๕๔) • ๒ประชุม เครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการ • ผลิต และปรับปรุงคณะกรรมการเครือข่าย • กลุ่มออมทรัพย์ฯ ทุกระดับ (ดำเนินการใน • เดือน ธ.ค.๕๔) • ๓.ฝึกอบรม ให้ความรู้เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมในการ • ดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต /การ • จัดทำบัญชีจำนวน ๔รุ่น(จังหวัดดำเนินการใน • เดือน ม.ค.๔๕) • ๔.ฝึกอบรมคณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์ฯ • ในด้านการบริหารจัดการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อ • การผลิตด้วยธรรมาภิบาล และคุณธรรม ๕ • ประการ (ดำเนินการในระดับอำเภอ มค.-มี.ค๕๕) • ๕. จัดสัปดาห์รณรงค์เพิ่มสมาชิกและเงินสัจจะกลุ่ม • ออมทรัพย์ฯ จำนวน ๔ครั้ง โดยวิธีการ เช่น การ • เดินรณรงค์ การจัดเวทีประชาคม การประชุมชีแจง • ฯลฯ (ดำเนินการระดับอำเภอ เดือน มค.-มิย.๕๕) • ๖. ติดตามสนับสนุนการดำเนินงานและ • ร่วมเวทีประชาคมในการแก้ไขตัวชี้วัดที่ตกเกณฑ์ • เพื่อยกระดับกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จากระดับ • ๑เป็น ระดับ ๒และจากระดับ ๒เป็น ระดับ ๓ • ดำเนินการระดับอำเภอ เดือน มค.-มิย.๕๕) • ๗จัดตั้งคระทำงานและดำเนินการ.ตรวจสุขภาวะ • กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จำนวน ๒,๒๓๓ กลุ่ม • ดำเนินการระดับอำเภอ เดือน มค.-มิย.๕๕) • ๘.รายงานผลการดำเนินงานทุกวันที่ ๒๕ ของเดือน • ๙ ติดตาม /ประเมินผล/สรุปผล (ติดตามการดำเนินงานทุกเดือน จังหวัด/อำเภอ) ๑.เจ้าหน้าที่พัฒนา ชุมชน/คณะกรรมการ กลุ่มออมทรัพย์ฯทรัพย์ มีความรู้ความเข้าใจใน แนวทางการดำเนินงาน กลุ่มออมทรัพย์ฯ ๒.สมาชิกเพิ่มจำนวน ๒๑,๙๖๖คน เงิน สัจจะฯ เพิ่ม จำนวน ๕๗,๙๔๗,๖๓๓บาท ๓.การ.ยกระดับ ระดับ ๑ เป็นระดับ ๒ ร้อยละ ๒๐ กลุ่มเพิ่ม จำนวน ๔๖กลุ่ม ระดับ ๒ เป็นระดับ ๓ ร้อยละ๒๐ เพิ่ม จำนวน ๑๐๕ กลุ่มและกลุ่มระดับ ๓ มีการสนับสนุนอาชีพจำนวน ๒๙๖ กลุ่ม ๔ส่งเสริมระบบสร้างเสริมสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์ฯ จำนวน ๒,๒๓๓กลุ่ม ๕ สรุปผลการดำเนินงาน ฐานข้อมูล ณ ๓๐ ก.ย.๕๔ ๑.กลุ่มออมทรัพย์ฯ จำนวน ๒,๒๓๓ กลุ่ม ๒.สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ฯ ๒๑๙,๖๕๗ คน ๓.เงินสัจจะฯจาก ๕๗๙,๖๓๔,๒๙๗บาท ๔.. ระดับ๑ จำนวน ๒๒๘ กลุ่ม ระดับ ๒ จำนวน ๕๒๔ กลุ่ม ระดับ ๓ จำนวน ๑,๔๘๑ กลุ่ม ๑.คู่มือ/แนวทางการดำเนินงาน ๒. โครงการตามยุทธศาสตร์ กรม.พช.ปี๕๕ ๓.พัฒนาเจ้าหน้าที่พช.เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ๔.กิจกรรมร่วมกับหน่วยงานภาคี ๕.พัฒนาศักยภาพ คณะกรรมการเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตระดับ ตำบล อำเภอ จังหวัด ๖.เครืองมือในการติดตามประเมินผล เป้าหมายการดำเนินงาน ๑.เพิ่มสมาชิกและเงินสัจจะกลุ่มออมฯไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐ สมาชิกเพิ่มจำนวน ๒๑,๙๖๖คน เงินสัจจะฯ เพิ่ม จำนวน ๕๗,๙๖๓,๔๓๐บาท ๒.ยกระดับ ระดับ ๑ เป็นระดับ ๒ ร้อยละ ๒๐ กลุ่มเพิ่ม จำนวน ๔๖กลุ่ม ระดับ ๒ เป็นระดับ ๓ ร้อยละ๒๐ เพิ่ม จำนวน ๑๐๕ กลุ่ม และกลุ่มระดับ ๓ มีการเสนับสนันอาชีพร้อยละ ๒๐ จำนวน ๒๙๖ กลุ่ม ๓ส่งเสริมระบบสร้างเสริมสุขภาพกลุ่มออมทรัพย์ฯ จำนวน ๒,๒๓๓กลุ่ม ๔.พัฒนาศักยภาพ จนท.พช. การดำเนินงานออมทรัพย์ จำนวน ๙๓คน ๕.พัฒนาศักยภาพ คณะกรรมการเครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตระดับ ตำบล อำเภอ จังหวัด จำนวน 20 อำเภอ ๖.ฝึกอบบัญชีด้วยระบบอิเลคทรอนิกส์กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จำนวน ๔รุ่น ๗. ส่งเสริมการบริหารจัดการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตด้วยธรรมาภิบาล และคุณธรรม 5 ประการ จำนวน ๒,๒๓๓ กลุ่ม

  6. กรอบแนวทางการดำเนินงานโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน(กข.คจ.)กรอบแนวทางการดำเนินงานโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน(กข.คจ.) ผลลัพธ์ ปัจจัยนำเข้า ฐานข้อมูล/เป้าหมาย กระบวนการ • ๑.ชี้แจงสร้างความเข้าใจแก่ • เจ้าหน้าที่เกี่ยวข้องและ • เครือข่าย กข.คจ.(ดำเนินการ • ในเดือน พย.- ธ.ค.๕๔) • ๒ประชุม เครือข่าย กข.คจ.และ • ปรับปรุงคณะกรรมการ • เครือข่าย กข.คจ. ทุกระดับ • (ดำเนินการในเดือน พ.ย.-ธ.ค.๕๔) • ๓.จัดทำแผนปฏิบัติการ/ติดตาม • สนับสนุนการดำเนินงาน • และร่วมเวทีประชาคมในการแก้ไข • ตัวชี้วัดที่ตกเกณฑ์เพื่อยกระดับ • หมู่บ้าน กข.คจ. จากระดับ • ๑เป็น ระดับ ๒และจากระดับ ๒ • เป็น ระดับ ๓ และระดับ ๓ในการ • แก้ไขหนี้นอกระบบ (ดำเนินการ • ระดับอำเภอ เดือน มค.-มิย.๕๕) • ๔.แต่งตั้งและดำเนินการตรวจ • สุขภาพกองทุน กข.คจ.(ดำเนินการ • ระดับอำเภอ เดือน มค.-มิย.๕๕) • ๖.จัดเวทีประชาคมในการบริหาร • จัดการกองทุนด้วยธรรมภิบาล • ๗.รายผลการดำเนินงาน • -สภาพปัญหา รายงานทุกเดือน • -ภาวะหนี้สินและฐานข้อมูล ปีละ ๒ งวด ๓๐ มี.ค.๓๐ ก.ย. ๑.จนท.พช.มีความรู้ ความเข้าใจในแนว ทางการดำเนินงาน ๒.หมู่บ้าน กข.คจ.มี การยกระดับการ พัฒนาระดับ ๑ เป็นระดับ ๒ จำนวน๑๗ หมู่บ้าน ยกระดับ ๒ เป็น ๓ จำนวน ๔๙ หมู่บ้าน ๓.ระดับ ๓ มีการ แก้ไขหนี้นอก ระบบ ๗๐ หมู่บ้าน ๔.มีการตรวจ สุขภาพ กอง ทุน กข.คจ. ๑๐๒๘ ๕.สรุปผลการดำเนินงาน ๑.คู่มือ/แนวทางการดำเนินงาน/ระเบียบกระทรวงมหาดไทยฯ ปี ๕๓ ๒.ข้อมูลการรายงานโครงการ กข.คจ. ๓. โครงการตามยุทธศาสตร์ กรม พช.ปี๕๕ ๔.พัฒนาเจ้าหน้าที่พช.เป็นผู้เชี่ยวชาญด้าน กข.คจ. ๕. พัฒนาศักยภาพ คณะกรรมการเครือข่าย กข.คจ.ทุกระดับ ตำบล อำเภอ จังหวัด ฐานข้อมูล ณ ๓๐ ก.ย.๕๔ ๑.หมู่บ้าน กข.คจ. จำนวน ๑๐๒๘ บ้าน ระดับ๑ จำนวน ๘๕ หมู่บ้าน ระดับ ๒ จำนวน ๒๔๕ หมู่บ้าน ระดับ ๓ จำนวน ๖๙๘ หมู่บ้าน เป้าหมายการดำเนินงาน ๑.ยกระดับ ๑ เป็นระดับ ๒ ร้อยละ ๒๐ จำนวน ๑๗ หมู่บ้าน ๒.ยกระดับ ๒ เป็น ๓ ร้อยละ ๒๐ จำนวน ๔๙ หมู่บ้าน ๓.ระดับ ๓ มีการแก้ไขหนี้นอกระบบร้อยละ ๒๐ จำนวน ๑๓๙ หมู่บ้าน ๔.ตรวจสุขภาพกองทุน กข.คจ. จำนวน ๑,๐๒๘ หมู่บ้าน ๕.ส่งเสริมการบริหารจัดการกองทุน กข.คจ.ด้วยธรรมภิบาล จำนวน ๑,๐๒๘ หมู่บ้าน

  7. กรอบแนวทางการดำเนินงานสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนกรอบแนวทางการดำเนินงานสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ฐานข้อมูล/เป้าหมาย ผลผลิต ปัจจัยนำเข้า กระบวนการขับเคลื่อน ๑.ประชุมชี้แจง จนท.และ คัดเลือกหมู่บ้านหมาย (เดือน มค.๕๕) ๒.ขั้นตอนการจัดตั้ง -ขั้นตอนการแพร่แนวคิด -ขั้นตอนการสำรวจข้อมูล -ขั้นตอนการประชุมผู้ที่ เกี่ยวข้อง -ขั้นตอนการจัดตั้ง/เปิด ดำเนินการ ๓.สรุปบทเรียนการจัดตั้ง ๔.ประเมินผลการดำเนินงาน สถาบัน ๕.รายงานผลตามปฏิทิน กำหนด เชิงปริมาณ -มีการจัดตั้ง สถาบันการจัดการ เงินทุนชุมชน จำนวน ๒๐ แห่ง เชิงคุณภาพ ร้อยละ ๕๐ ของ สถาบันการจัดการ เงินทุนชุมชนมีการ จัดสวัสดิการชุมชนและ สามารถแก้ไขหนี้ นอกระบบ (จำนวน ๑๓ แห่ง) ๑.งบประมาณจา กกรมการ พัฒนาชุมชน ปี ๕๕ ๒.คู่มือ แนวทางการดำเนินงาน ๓.หมู่บ้านที่มีกลุ่มออมทรัพย์ที่เข้มแข็งสามารถเป็นแกนนำในการจัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนได้ ๔.พัฒนาเจ้าหน้าที่พช.เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านสถาบัน ฐานข้อมูลสถาบันการ จัดการเงินทุนชุมชนมี ๕ แห่ง เป้าหมาย ปี ๕๕ จังหวัดให้อำเภอคัดเลือกคัดเลือก หมู่บ้านที่จะจัดตั้งสถาบันการ จัดการเงินทุนชุมชนอำเภอละ ๑ หมู่บ้าน รวม ๒๐ บ้าน ดังนี้ ๑.กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการ ผลิตที่มีการดำเนินงานเข้มแข็ง ๒.มีจำนวนกองทุนชุมชมมาก ๓.มีคณะกรรมการและผู้นำ ชุมชนที่เข้มแข็ง ๔.ชุมชนมีความสามัคคี ๕.ไม่เป็นพื้นที่ที่มีการจัดตั้ง สถาบันการจัดการเงินใน รูปแบบอื่น

  8. การดำเนินงาน One Province One Project ธนาคารข้าว ธนาคารใจ เทิดไท้ องค์ราชัน สร้างสรรค์ ๕๐ ปี กรมการพัฒนาชุมชน คน ๑๐๑

  9. ยุคฟื้นฟูสู่เกื้อกูล ยุคเฟื่องฟู ยุคแรก • รื้อฟื้น • กำหนดได้ใน ๑๐๑แห่ง อยู่ที่ไหน • กิจกรรมที่เกิด *ระดมข้าวเพื่อช่วยเหลือในลักษณะธนาคาร (ไม่ใช่ยุ้งฉาง) *แก้ปัญหาความยากจน *มิติของสวัสดิการชุมชน *มิติของการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าว • มีจำนวนกี่แห่ง • ที่ไหน • การดำเนินงาน • ทุนที่เป็นข้าว • การบริการแก่สมาชิก • ประวัติความเป็นมา • เกิดที่ไหน • อย่างไร • การบริหารจัดการเป็นอย่างไร

  10. กรอบการขับเคลื่อน ธนาคารข้าว ๑๐๑ เตรียมการ วัตถุประสงค์ ดำเนินการ ผลผลิต ผลลัพธ์ ๑.ดำเนินการประชาสัมพันธ์การดำเนินงานธนาคารข้าวผ่านสื่อต่างๆ เช่น วิทยุ ทีวี หอกระจายข่าว แผ่นพับ ประชุมกลุ่มเป้าหมายทุกระดับ ฯลฯ ๒. จัดดีเดย์ รณรงค์ เพิ่มและจัดตั้งกองทุนธนาคารข้าวอำเภอละ ๑ แห่ง และดำเนินการจำนวน ๑๐๑ แห่ง ๓.ปรับปรุง แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานธนาคาร ๓.กำหนด ระเบียบ กติกาข้อบังคับ แนวทาง การดำเนินงานธนาคารข้าว ๔.กำหนดกิจกรรมดำเนินงานตามโครงการฯ ๑.มีการจัดตั้งและเพิ่มกองทุนธนาคารจำนวน ๑๐๑ แห่ง ๒. ประชาชนในชุมชนได้กู้ยืมข้าวไปใช้บริโภคและทำพันธุ์ ในฤดูทำนา ๓. มีการจัดสวัสดิการชุมชน โดยการสงเคราะห์คนยากจนในชุมชน ร๔มีการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวไว้ทำพันธ์ ๑. เพื่อจัดตั้งธนาคารข้าวและรณรงค์เพิ่มกองทุนธนาคารข้าวตามพระราชดำริในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวในพื้นที่หมู่บ้านของจังหวัดร้อยเอ็ด ๒.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้รวมกลุ่มช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน มีความเอื้ออารีต่อกัน สงเคราะห์ประชาชนผู้ยากจนได้กู้ยืมข้าวไปใช้บริโภคและทำพันธุ์ ในฤดูทำนา ๑.ประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนและองค์กรเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ๒.จัดตั้งคณะทำงานดำเนินงานตามโครงการฯ ๓.ให้อำเภอทุกอำเภอดำเนินการตรวจสอบประวัติความเป็นมา เกิดที่ไหน อย่างไร การบริหารจัดการเป็นอย่างไรจากข้อมูลธนาคารข้าวที่ดำเนินการอยู่จำนวน ๔๐๒ แห่ง กำหนดเป้าหมายดำเนินการ ๑๐๑ แห่ง ๑.คนในชุมชนมีการช่วยเหลือ เกื้อกูล มีความเอื้อ อารีย์ มีการสงเคราะห์ต่อกัน มีความรัก ความสามัคคี ๒.ชุมชนมีธนาคารข้าวเป็นภูมิคุ้มกันชุมชน ๓.ประชาชนในชุมชนการลดรายจ่ายในการซื้อเมล็ดพันธ์ข้าว ๔.คนในชุมชนมีการดำเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑.มีการจัดตั้งธนาคารจำนวน ๑๐๑ แห่ง ตัวชี้วัดกิจกรรม ๒.ประชาชนในชุมชนอย่างน้อยร้อยละ๗๐มีส่วนในการขับเคลื่อนกิจกรรมธนาคารข้าว

  11. แผนปฏิบัติการ ก.ค.-ก.ย.๕๕ ม.ค.-มี.ค.๕๕ เม.ย.-มิ.ย.๕๕ ต.ค.-ธ.ค.๕๔ ดำเนินกิจกรรมธนาคารข้าว ๑.ให้ประชาชนในชุมชนได้กู้ยืมข้าวไปใช้บริโภคและทำพันธุ์ ในฤดูทำนา ๒.การจัดสวัสดิการชุมชน โดยการสงเคราะห์คนยากจนในชุมชน๓.การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวไว้ทำพันธ์ ๔.ประสานขอรับเมล็ดพันธ์ข้าวพระราชทาน ๕.กำหนดแปลงสาธิตทำนาเพื่อเพิ่มกองทุนธนาคารข้าว ๖. อำเภอรายงานผลการดำเนินงานส่งจังหวัด ๑. ๑.ประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนและองค์กรเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ๒.จัดตั้งคณะทำงานดำเนินงานตามโครงการฯ ๓.ให้อำเภอทุกอำเภอดำเนินการตรวจสอบประวัติความเป็นมา เกิดที่ไหน อย่างไร การบริหารจัดการเป็นอย่างไรจากข้อมูลธนาคารข้าวที่ดำเนินการอยู่จำนวน ๔๐๒ แห่งและกำหนดเป้าหมาย ๑๐๑ แห่ง ๔.ประชาสัมพันธ์โครงการฯ ๕.อำเภอรายงานผลการดำเนินงานส่งจังหวัด ๑. รณรงค์จัดตั้งกองทุนธนาคารข้าวตามแนวทางของกรมการพัฒนาชุมชนจำนวน ๑๐๑ แห่ง ๒.ปรับปรุง แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานธนาคาร ๓.กำหนด ระเบียบ กติกาข้อบังคับ แนวทาง การดำเนินงานธนาคารข้าว ๔.กำหนดกิจกรรมดำเนินการ ๕.อำเภอรายงานผลการดำเนินงานส่งจังหวัด ๑. คณะทำงานติดตามผลการดำเนินงาน ๒.สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการฯ๓.ประเมินผลแบบมีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามโครงการฯ ๔.จังหวัดรายงานผลการดำเนินงานส่งกรมการพัฒนาชุมชน

  12. ฐานข้อมูลธนาคารข้าวและเป้าหมายในการจัดตั้งธนาคารข้าวตามโครงการธนาคารข้าว ธนาคารใจ เทิดไท้องค์ราชัน สร้างสรรค์ ๕๐ ปี กรมการพัฒนาชุมชน คน ๑๐๑องค์ราชัน สร้างสรรค์ ๕๐ ปี กรมการพัฒนาชุมชน

More Related