1 / 35

Methacholine Challenge Test: Demonstration & Discussion

Methacholine Challenge Test: Demonstration & Discussion . รองศาสตราจารย์นายแพทย์วันชัย เดชสมฤทธิ์ฤทัย สาขาวิชาโรคระบบการหายใจและวัณโรค ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. Methacholine Challenge Test. ความเป็นมา ข้อบ่งชี้และข้อห้าม วิธีการ การแปลผล ข้อมูลในประเทศ การสาธิต.

bendek
Download Presentation

Methacholine Challenge Test: Demonstration & Discussion

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Methacholine Challenge Test:Demonstration & Discussion รองศาสตราจารย์นายแพทย์วันชัย เดชสมฤทธิ์ฤทัย สาขาวิชาโรคระบบการหายใจและวัณโรคภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

  2. Methacholine Challenge Test • ความเป็นมา • ข้อบ่งชี้และข้อห้าม • วิธีการ • การแปลผล • ข้อมูลในประเทศ • การสาธิต

  3. Am J Respir Crit Care Med Vol 161. pp 309–329, 2000

  4. ภาวะหลอดลมไวเกิน Bronchial Hyperresponsiveness (BHR) • โรคหืด = ภาวะหลอดลมไวเกิน + อาการ • การตรวจความไวหลอดลม (Bronchoprovocative test) • ไม่จำเพาะ (nonspecific) • Methacholine • Histamine • Adenosine • จำเพาะ • Allergen challenge test

  5. Bronchoprovocative Test

  6. ข้อบ่งชี้ (Indication) • โรคหืดที่ไม่สามารถวินิจฉัยได้จากการตรวจ spirometry • อาการไอเรื้อรังจากโรคหืด (cough-variant) • ประเมินความรุนแรงของโรค • ประเมินการตอบสนองต่อการรักษา • โรคหืดจากอาชีพ (occupational asthma) • ข้อบ่งชี้ทางกฏหมาย • การวิจัย

  7. ข้อห้าม (Contraindication) • ภาวะหลอดลมอุดกั้นรุนแรง • FEV1<50% หรือ <1 L • โรคหัวใจเฉียบพลันหรือหลอดเลือดสมอง ภายใน 3 เดือน • ความดันโลหิตสูง • SBP >200 หรือ DBP >100 mmHg • โรคหลอดเลือดแดงโป่งพอง

  8. ข้อควรระวัง (Relative contraindication) • ภาวะหลอดลมอุดกั้นปานกลาง • FEV1<60% หรือ <1.5 L • ไม่สามารถตรวจ spirometry ได้ • ตั้งครรภ์ • ให้นมบุตร • ได้รับยากลุ่ม cholinesterase inhibitor

  9. คุณสมบัติของผู้ทำการทดสอบคุณสมบัติของผู้ทำการทดสอบ • มีความรู้และคุ้นเคย • สามารถใช้และดูแลเครื่องมือได้ • มีความชำนาญในการตรวจ spirometry • รู้ข้อห้ามและข้อควรระวัง • สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ในกรณีฉุกเฉิน • มีความชำนาญในการใช้ยาและเครื่องพ่นละออง

  10. ความปลอดภัยต่อผู้ป่วย (Safety) • มีแพทย์หรือบุคลากรที่ได้รับการฝีกฝนอยู่ • มียาและเครื่องมือพร้อมเสมอ • ข้อมูลด้านความปลอดภัย • ยังไม่มีรายงานถึงผลข้างเคียงรุนแรง • ผลข้างเคียงชั่วคราว • เหนื่อย แน่นหน้าอก วี้ด

  11. ความปลอดภัยต่อผู้ทดสอบความปลอดภัยต่อผู้ทดสอบ • ห้องตรวจควรมีอากาศถ่ายเท (>2 exchanges/h) • ผู้ตรวจยืนห่างพอสมควร • ผู้ตรวจที่เป็นโรคหืด ควรมีการป้องกันเพิ่มเติม • อุปกรณ์ • Filters, fume hood, dosimeter

  12. เครื่องพ่นละออง (Nebulizer) Wright nebulizer DeVilbiss 646

  13. การเตรียมผู้ป่วย • ให้ผู้ป่วยหยุดยาบางขนาน • อธิบายผู้ป่วย • ให้ผู้ป่วยลงลายมือชื่อยินยอม • ทบทวนข้อควรระวังและการใช้ยาของผู้ป่วย • ทำการตรวจในท่านั่งที่สบาย

  14. ปัจจัยที่มีผลต่อความไวหลอดลมปัจจัยที่มีผลต่อความไวหลอดลม

  15. ปัจจัยที่เพิ่มความไวหลอดลมปัจจัยที่เพิ่มความไวหลอดลม

  16. Dosing protocol • 2-min Tidal breathing method • 0.03, 0.06, 0.125, 0.25, 0.50, 1, 2, 4, 8, 16 • Five breath dosimeter method • 0.0625, 0.25, 1, 4, 16 mg/ml

  17. Five Breath Dosimeter Method(1) • เตรียมเครื่องพ่นละออง • เตรียมน้ำยา methacholine • (Diluent) 0.0625, 0.25, 1, 4, 16 mg/ml • นำออกจากตู้เย็น 30 นาทีก่อนการตรวจ • บรรจุน้ำยา 2 มล. ใน nebulizer • ตรวจ baseline spirometry • ให้ผู้ปวยถือ nebulizer ตั้งตรง ใช้ปากคาบ mouthpiece ติด noseclip • เปิด nebulizer พร้อมบอกให้ผู้ป่วยหายใจเข้าช้าๆและลึกจนเต็มปอด ใช้เวลาประมาณ 5 วินาที และ กลั้นนิ่งไว้อีก 5 วินาที • ทำซ้ำดังข้างต้นจนครบ 5 ครั้ง ใช้เวลาทั้งหมดไม่เกิน 2 นาที

  18. Five Breath Dosimeter Method(2) • วัด FEV1 ที่เวลา 30 และ 90 วินาที หลังจากนั้น หากไม่ได้ acceptable curve ให้วัดซ้ำได้แต่ไม่เกิน 3-4 ครั้งในแต่ละความเข้มข้น และไม่ควรเกิน 3 นาที • ให้รักษาช่วงห่างระหว่างแต่ละความเข้มข้น 5 นาที • ให้ใช้ค่า FEV1 สูงสุดของแต่ละความเข้มข้น • ถ้าค่า FEV1 ลดลงน้อยกว่า 20% ให้ทำเหมือนเดิมที่ความเข้มข้นถัดไป • ถ้าค่า FEV1 ลดลงมากกว่า 20% ให้หยุด • บันทึกอาการและอาการแสดง • บริหารยา inhaled B-agonist • รอ 10 นาที วัด FEV1 ซ้ำ

  19. Bronchoprovocative Test

  20. การแปลผล

  21. การแปลผล

  22. การแปลผลการตรวจ

  23. การแปลผลการตรวจ

  24. Chiangrai Nan Lampoon Phrae Udon Nakhon Phanom Sakon Ubon Buriram Ratchasima Surin Suphan Nontaburi Pathum Rayong Prachuab Patthalung Phuket Narathiwat BHR in Thailand • 5 Geographical regions • Central • North-eastern • Southern • Northern • Bangkok

  25. ความชุกในประเทศไทย

  26. Region-specific Prevalence of BHR p>0.05

  27. Age-specific Prevalence of BHR p<0.05

  28. Sex-specific Prevalence * p<0.05

  29. Methacholine Challenge Test • ความเป็นมา • ข้อบ่งชี้และข้อห้าม • วิธีการ • การแปลผล • ข้อมูลในประเทศ • การสาธิต

  30. Thank you

More Related