1 / 24

แนวคิดที่นำมาประยุกต์ใช้ในการ จัดทำศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม

แนวคิดที่นำมาประยุกต์ใช้ในการ จัดทำศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม. บรรยายโดย นายสุเมธ ภูรีศรีศักดิ์ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ๘วช. งานข้อมูล. ศูนย์ข้อมูล. ศูนย์ข้อมูลกลาง. ปฏิบัติ. จัดการ. บริหาร. ศูนย์บูรณาการวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน. โครงการบูรณาการวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน.

Download Presentation

แนวคิดที่นำมาประยุกต์ใช้ในการ จัดทำศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวคิดที่นำมาประยุกต์ใช้ในการจัดทำศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมแนวคิดที่นำมาประยุกต์ใช้ในการจัดทำศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม บรรยายโดย นายสุเมธ ภูรีศรีศักดิ์ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ๘วช

  2. งานข้อมูล ศูนย์ข้อมูล ศูนย์ข้อมูลกลาง ปฏิบัติ จัดการ บริหาร

  3. ศูนย์บูรณาการวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชนศูนย์บูรณาการวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน โครงการบูรณาการวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน ยุทธศาสตร์บูรณาการวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน ปฏิบัติ จัดการ บริหาร

  4. ปรับกระบวนการทำงาน สร้างระบบความคิด เพื่อการพัฒนาองค์กร เข้าใจการขับเคลื่อนองค์กร สู่การปฏิบัติของหน่วยงาน สามารถแปลงยุทธศาสตร์ OP (Logframe) IP (Individual Plan)

  5. แนวคิดพัฒนาศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมแนวคิดพัฒนาศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม วิธีการพัฒนาศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม จะเริ่มได้อย่างไร... 1.BPR -Business Process Reengineering 2.Kaizen 3.EA -Enterprise Architecture

  6. BPR คืออะไร Business Process Reengineering เป็นวิธีการหนึ่งในการปรับปรุงกระบวนการทำงานขององค์กรหรือการดำเนินงาน

  7. วัตถุประสงค์ของ BPR เป็นการออกแบบ Business Process ในปัจจุบันใหม่และเปลี่ยนความฝันให้เป็นจริง ออกแบบใหม่ กระบวนการ ดำเนินงาน เปลี่ยนความฝัน ให้เป็นจริง

  8. อะไรคือ Business Process Business Processเป็นการปฏิบัติหน้าที่ในกลุ่มกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ได้ผลสัมฤทธิ์สู่ผู้รับบริการ ลักษณะกิจกรรม Input Activity (I/O system) Output ลักษณะกลุ่มกิจกรรม Process Activity1 (I/O system) Activity2 (I/O system) Activity3 (I/O system)

  9. ตัวอย่างของ Business Process Process: การนำเข้าข้อมูลพิกัดด้วยเครื่อง GPS แบบสำรวจ Activity1 (สำรวจข้อมูล) รายละเอียดข้อมูล GPS Activity2 (บันทึกข้อมูล) ฐานข้อมูล แหล่งข้อมูล โปรแกรมบันทึกข้อมูล

  10. ขอบเขตของ BPR กรอบความคิดของ BPRประกอบด้วยการออกแบบของ Workflow ใหม่ทั้งหมดที่มีอยู่ใน Business Process เดิม และก็ขอบเขตของ BPR ไม่ได้จำกัดจำนวนWorkflowและยังครอบคลุมไปทุกๆ ส่วนประกอบที่เกี่ยวข้องในองค์กร ถ้าเปลี่ยน Business processes ที่มีอยู่ในปัจจุบัน การจัดระเบียบสิ่งที่จะเปลี่ยน การประเมินสิ่งที่จะเปลี่ยน ระบบสารสนเทศที่จะเปลี่ยน บทบาทของผู้จัดการที่จะเปลี่ยน Workflow ที่ จะเปลี่ยน

  11. วิธีการวางแผนBPR ส่วนประกอบที่สำคัญของโครงการ BPR ยุทธศาสตร์ Strategy วิสัยทัศน์ Vision ตัวชี้วัด KPI

  12. BPR เค้าโครงของ BPR process flow การเตรียมการ การวิเคราะห์การทำงานที่เป็นอยู่(As Is) Business Analysis การออกแบบการทำงานที่จะเป็น(To Be) การลงมือทำ การควบคุมดูแลโครงการ BPR

  13. การเตรียมการ กิจกรรมที่1. การตั้งคณะทำงาน [ผู้ที่เกี่ยวข้อง] ส่วนเริ่มต้นการจัดการ [ผลผลิต] แผนภาพของคณะทำงานจัดการโครงการ กิจกรรมแรกในช่วงนี้เป็นจัดตั้งทีมงานดำเนินโครงการ BPR แบบ top-down ซึ่งการจัดการเบื้องต้นให้มีการตัดสินใจจากหัวหน้าคณะทำงานและหลังจากนั้นหัวหน้าคณะทำงานจัดระบบการทำงานร่วมกับคณะทำงาน การเตรียมการ การวิเคราะห์การทำงานที่เป็นอยู่ กิจกรรมที่2. ทบทวนวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ กิจกรรมที่3. กำหนดวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ กิจกรรมที่4. จัดทำร่างแผนปฏิบัติงาน [ผู้เกี่ยวข้อง] คณะทำงาน BPR [ผลผลิต] วัตถุประสงค์ของ BPR รายละเอียดของ Balanced Scorecard ร่างแผนปฏิบัติงาน เพื่อที่ตรวจสอบวัตถุประสงค์ของ BPR หัวหน้าคณะทำงานดูแลการประชุมประกอบกับการจัดการทบทวนวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ และกำหนดเวลาที่จะต้องทำให้เสร็จ ถ้าหัวหน้าคณะทำงานตัดสินใจทำ Balance scorecard เป็นผลผลิตก็ให้กำหนดเวลาที่จะต้องทำให้แล้วเสร็จด้วย การออกแบบการทำงานที่จะเป็น การลงมือทำ การควบคุมดูแลโครงการ BPR

  14. การวิเคราะห์การทำงานที่เป็นอยู่การวิเคราะห์การทำงานที่เป็นอยู่ กิจกรรมที่1. กำหนดขอบเขตการทำงาน กิจกรรมที่2. สร้าง Model ที่เป็นอยู่ [ผู้เกี่ยวข้อง] คณะทำงานโครงการ BPR [ผลผลิต] model ที่เป็นอยู่ (Business Outline, Business Process Model) กำหนดเป้าหมายของ Business process และขั้นตอนในปัจจุบันให้เข้าใจได้ง่าย การเตรียมการ การวิเคราะห์การทำงานที่เป็นอยู่ กิจกรรมที่3. การวิเคราะห์ ABC (Activity Base Cost) [ผู้เกี่ยวข้อง] คณะทำงานโครงการ BPR [ผลผลิต] ผลการวิเคราะห์ตามลำดับกระบวนงาน คำนวณต้นทุนด้านบุคลากรในแต่ละกิจกรรมและรวมทุกกิจกรรม การออกแบบการทำงานที่จะเป็น การลงมือทำ กิจกรรมที่4. กำหนด KPI [ผู้เกี่ยวข้อง] คณะทำงานโครงการ BPR [ผลผลิต] รายละเอียด Balanced Scorecard โดยการวิเคราะห์ model ที่เป็นอยู่ การกำหนด KPI และการสำรวจความสำคัญ KPI ในปัจจุบัน การควบคุมดูแลโครงการ BPR

  15. การออกแบบการทำงานที่จะเป็นการออกแบบการทำงานที่จะเป็น กิจกรรมที่1. การออกแบบ Model ที่จะเป็น [ผู้เกี่ยวข้อง] คณะทำงานโครงการ BPR [ผลผลิต] Model ที่จะเป็น (Business Outline, Business Process Model) การเตรียมการ การวิเคราะห์การทำงานที่เป็นอยู่ กิจกรรมที่2. การวิเคราะห์ช่องว่างและการดึงปัญหาออก [ผู้เกี่ยวข้อง] คณะทำงานโครงการ BPR [ผลผลิต] Pareto diagram, Cause-effect diagram Countermeasures เพื่อที่จะดึงปัญหาออก เราทำการวิเคราะห์ช่องว่างระหว่าง model ที่เป็นอยู่กับ model ที่จะเป็น และปัญหานั้นได้รับการแก้ไขเมื่อมีการลงมือทำ BPR การออกแบบการทำงานที่จะเป็น การลงมือทำ กิจกรรมที่3. การคาดการณ์ระดับบรรลุผลสำเร็จของ KPI [ผู้เกี่ยวข้อง] คณะทำงานโครงการ BPR [ผลผลิต] Balanced Scorecard วิเคราะห์ model ที่จะเป็น และคาดการณ์คุณประโยชน์เป้าหมายของ KPI การควบคุมดูแลโครงการ BPR

  16. การลงมือทำ จากช่วงระยะนี่เป็นขอบเขตของการจัดการโครงการ “การลงมือทำ” ซึ่งเป็นการถูกกล่าวใน BPR เป็นสิ่งที่แตกต่างจากคำนิยามของการลงมือทำใน “การจัดการโครงการ”การลงมือทำ ใน BPR รวมถึงการวางแผนโครงการและการลงมือทำ การเตรียมการ การวิเคราะห์การทำงานที่เป็นอยู่ กิจกรรมที่1. การสร้างแผนปฏิบัติการ BPR [ผู้เกี่ยวข้อง] คณะทำงานโครงการ BPR หรือคณะทำงานโครงการชุดใหม่ [ผลผลิต] แผนปฏิบัติการ BPR (รายละเอียดของแผน) หลังจากการทำให้เสร็จของแผน BPR เราเริ่มจัดการโครงการของ model ที่จะเป็น ให้เป็นจริงขึ้นมา เพิ่มข้อสนเทศลงในแผน BPR ให้มากขึ้นและสร้าง “Project Plan” ซึ่งรวมรายละเอียดข้อมูลของต้นทุน ตารางเวลา คุณภาพ ขอบเขตและอื่นๆ การออกแบบการทำงานที่จะเป็น การลงมือทำ กิจกรรมที่2. การลงมือทำ BPR [ผู้เกี่ยวข้อง] คณะทำงานโครงการ BPR หรือคณะทำงานโครงการชุดใหม่ [ผลผลิต] Business process ใหม่ การลงมือทำตามแผนอยู่บนฐานของ “Project Plan”. การควบคุมดูแลโครงการ BPR

  17. การควบคุมดูแลโครงการ BPR ช่วงของระยะนี้อยู่ในขอบเขตของการจัดการโครงการ เพื่อที่จะศึกษารายละเอียด อ้างถึง “Project Management Basics”. การเตรียมการ การวิเคราะห์การทำงานที่เป็นอยู่ กิจกรรมที่1. ดำเนินการติดตาม [ผู้เกี่ยวข้อง] คณะทำงานโครงการ BPR หรือคณะทำงานโครงการชุดใหม่ [ผลผลิต] Balanced Scorecard อื่นๆ การติดตามโครงการเป็นบทบาทของผู้จัดการโครงการถ้า Balanced Scorecard ถูกใช้ในโครงการ เราต้องประเมินความก้าวหน้าโครงการโดยการตรวจสอบ KPI ของเป้าหมายแต่ยุทธศาสตร์ การออกแบบการทำงานที่จะเป็น การลงมือทำ กิจกรรมที่2. การออกตรวจโครงการ [ผู้เกี่ยวข้อง] คณะทำงานโครงการ BPR หรือคณะทำงานโครงการชุดใหม่ [ผลผลิต] เอกสารโครงการที่ถูกปรับข้อมูลให้ทันสมัย ระหว่างการลงมือทำโครงการ หลายๆ ช่องว่างจะถูกพบโดยบังเอิญ ผู้จัดการโครงการมั่นตรวจสอบความก้าวหน้าและวิเคราะห์ช่องว่างระหว่างแผนกับความเป็นจริงในสภาพปัจจุบัน การควบคุมดูแลโครงการ BPR

  18. มุมมอง 4 มิติใน BSC ลักษณะพิเศษของ BSC ซึ่งมีจุดสำคัญอยู่ที่มุมมอง 4 มิติ ที่ทำการแบ่งออกเป็นแต่ละยุทธศาสตร์ให้กลายเป็นรายละเอียดของการวางแผน Customer การสัมฤทธิผลของวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ ให้มีผลไปสู่ผู้บริโภคได้อย่างไร Financial เราจะทำอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ ด้านการเงิน Vision Strategy Internal Process ความพึงพอใจของผู้บริโภค อะไรเป็นความยอดเยี่ยมของ Business Process Learning & Growth การสัมฤทธิผลของยุทธศาสตร์ มีวิธีการอย่างไรในการเปลี่ยนและปรับปรุงตัวเอง

  19. อะไรคือ Kaizen? Kaizen เป็น “วิธีการคัดเลือกและการปรับเปลี่ยนเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์” เป็นกลุ่มปฏิบัติเล็กๆ ที่มีวิธีการจัดการวิเคราะห์สภาพปัญหาต่างๆ เพื่อปรับปรุงให้ผลผลิตมีมูลค่าเพิ่ม ความแตกต่างระหว่าง BPR กับ Kaizen Kaizen BPR ซ่อมแซมบ้านที่แตกร้าว ออกแบบเพื่อสร้างใหม่

  20. EA-Enterprise Architecture หมายถึง • วิธี การออกแบบและการควบคุมของการจัดองค์กรเพื่อปรับปรุง Business และระบบในคราวเดียวกันโดยยึดหลัก “ลูกค้าเป็นศูนย์กลาง” เป็นการสร้างแบบจำลองBusinessและระบบ ด้วยการมองภาพรวมทั้งองค์กรให้มีความเหมาะสมสูงสุด อะไรคือ EA

  21. Business system (Business Architecture) Data system (Data Architecture) Application system (Application Architecture) Technology system (Technology Architecture) Business system:โครงสร้างหน้าที่ของ Business การสร้างแบบจำลองของหน้าที่และรูปแบบทางสถาปัตยกรรมของหน้าที่สู่เป้าหมายขององค์กร EA model structure EA model Data system:โครงสร้างของสารสนเทศที่จำเป็นเพื่อ Business การสร้างแบบจำลองของ input/output data และรูปแบบทางสถาปัตยกรรมของข้อมูลสู่เป้าหมายขององค์กร Application system: โครงสร้างของ Service packageเกี่ยวกับหน้าที่ของ Businessและสารสนเทศที่ให้บริการ การสร้างแบบจำลอง Service package(Back office,Customer service) และรูปแบบทางสถาปัตยกรรมของ Service package ที่สอดคล้องกับระดับความก้าวหน้าของ Technology/Service Technology system:โครงสร้างของ Technology ที่ทำให้บรรลุผลการบริการ การสร้างแบบจำลองของเทคโนโลยี (Software/Hardware/Network) และรูปแบบทางสถาปัตยกรรมของเทคโนโลยีเพื่อทำให้บรรลุผลของ Service package

  22. การเปรียบเทียบระหว่าง EA กับ BPR

  23. Business Data Application Technology ศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมระดับหน่วยงาน การประยุกต์ใช้แนวความคิด BPR และ EA กับศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม BPR-Business Process Reengineering กำหนดมาตรฐานการทำงานและข้อมูล จัดทำแผนงบประมาณรองรับการดำเนินงาน

  24. สวัสดี

More Related