1 / 24

การปฏิบัติเพื่อป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในขอบข่ายงานของ ผู้ช่วยพยาบาลและพนักงานช่วยการพยาบาล

การปฏิบัติเพื่อป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในขอบข่ายงานของ ผู้ช่วยพยาบาลและพนักงานช่วยการพยาบาล. ในเรื่อง การป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ. การป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะจาก การคาสายสวนปัสสาวะ. การป้องกันการติดเชื้อแผลผ่าตัด. วัตถุประสงค์.

benjy
Download Presentation

การปฏิบัติเพื่อป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในขอบข่ายงานของ ผู้ช่วยพยาบาลและพนักงานช่วยการพยาบาล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การปฏิบัติเพื่อป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในขอบข่ายงานของ ผู้ช่วยพยาบาลและพนักงานช่วยการพยาบาล • ในเรื่อง • การป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ • การป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะจาก การคาสายสวนปัสสาวะ • การป้องกันการติดเชื้อแผลผ่าตัด

  2. วัตถุประสงค์ ทบทวนความรู้ในเรื่องการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อแบบมาตรฐาน และ การล้างมือ • มีความรู้ และสามารถปฏิบัติในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในขอบข่ายงานของ ผู้ช่วยพยาบาลและพนักงานช่วยการพยาบาล • การป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ • การป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะ • การป้องกันการติดเชื้อแผลผ่าตัด

  3. จุดมุ่งหมายของโรงพยาบาลสวนดอกคืออะไรจุดมุ่งหมายของโรงพยาบาลสวนดอกคืออะไร ความปลอดภัยของผู้ป่วย เข้มมุ่ง (จุดมุ่งหมาย) ป้องกันการติดเชื้อ (4) • ลดการติดเชื้อ • ทางเดินหายใจ • ทางเดินปัสสาวะ • แผลผ่าตัด การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ แบบมาตรฐาน การล้างมือ ลดการเกิดเข็มทิ่มตำ

  4. Standard Precaution • ล้างมือ • ถุงมือ • ผ้าปิดปาก ปิดจมูก • เสื้อกาวน์ • อุปกรณ์ของใช่ของผู้ป่วย • การทำความสะอาดสิ่งแวดล้อม • ผ้า • สุ่ขภาพของบุคลากร • Transmission – base • Precautions • การติดเชื้อที่แพร่กระจายทางอากาศ • [Airborne Precautions ] • การติดเชื้อที่แพร่กระจายได้ทางละออง • ในอากาศ[Droplet Precautions ] • การติดเชื้อที่แพร่กระจายได้จาดดารสัมผัส [Contact Precautions ]

  5. Transmission – base Precautions เป็นมาตรการเสริมใช้ในการระมัดระวังป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากผู้ป่วย Airborne Precautions เป็นมาตรการเสริมสำหรับผู้ป่วยที่สงสัย หรือทราบว่ามีการติดเชื้อที่สามารถ แพร่กระจายทางอากาศ เป็นฝอยละอองขนาดเล็กประมาณ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 ไมครอน ซึ่งสามารถแขวนลอยอยู่ในอากาศได้นาน และฟุ้งกระจายได้ไกล เช่น หัด สุกใส TB

  6. การจัดการสำหรับผู้ป่วยที่สงสัย หรือทราบว่ามีการติดเชื้อ ที่สามารถ แพร่กระจายทางอากาศ • การจัดผู้ป่วย ผู้ป่วยอยู่ห้องแยกปิดประตูตลอดเวลา กรณีไม่มีห้องแยกจัดให้ผู้ป่วยติดเชื้อชนิดเดียวกันอยู่ห้องเดียวกันได้ • เครื่องป้องกัน Mask 95 • การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย

  7. Droplet Precautions • เป็นมาตรการเสริมสำหรับผู้ป่วยที่สงสัยหรือทราบว่ามีการติดเชื้อที่สามารถแพร่กระจายได้ทางละอองในอากาศ เช่นไอ จาม พูด หรือการทำหัตถการ ฝอยละอองจะกระจายได้ไกลในระยะ 3 ฟุต เช่น ไข้หวัด คางทูม ไอกรน คอตีบ ปอดอักเสบ • การจัดผู้ป่วยให้ผู้ป่วยอยู่ห้องแยก / ติดเชื้อชนิดเดียวกันอยู่ด้วยกัน / อยู่ห่างกันเกิน 3 ฟุต • ใส่ maskเมื่อให้การพยาบาลผู้ป่วยระยะไม่เกิน 3 ฟุต • การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ไม่ทำถ้าไม่จำเป็น ถ้าจำเป็นสวมผ้าปิดปากปิดจมูกให้ผู้ป่วย หรือสอนให้ผู้ป่วยใช้ผ้าปิดปากปิดจมูกเวลาไอ/จาม

  8. Contact Precautionsเป็นมาตรการเสริมสำหรับผู้ป่วยที่สงสัยหรือทราบว่ามีการติดเชื้อที่สามารถแพร่กระจายได้จากการสัมผัส • การจัดผู้ป่วยให้ผู้ป่วยอยู่ห้องแยก / ติดเชื้อชนิดเดียวกันอยู่ด้วยกัน • การล้างมือ และการใช้ถุงมือ สวมถุงมือขณะให้การดูแล ถ้าถุงมือเปื้อนมากให้เปลี่ยน หลังถอดถุงมือล้างมือทันทีด้วยน้ำและน้ำยาทำลายเชื้อ • สวม gown • การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ไม่ทำถ้าไม่จำเป็น กรณีเคลื่อนย้ายต้องระวังการปนเปื้อนสู่สิ่งแวดล้อม • อุปกรณ์ที่ใช้กับผู้ป่วยแยกเฉพาะราย / ทำลายเชื้อ/ทำให้ปราศจากเชื้อให้ถูกวิธีก่อนนำไปใช้กับผู้ป่วยรายอื่น ๆ

  9. การล้างมือ

  10. เชื้อประจำถิ่น เชื้ออาศัยอยู่ชั่วคราว

  11. การล้างมือ • การล้างมือตามปกติ • [Normal handwashing] 2. การล้างมือโดยใช้น้ำยาทำลายเชื้อ [hygienic handwashing] 3. การล้างมือในการผ่าตัด [surgical handwashing]

  12. การใช้ Hand Rubbing Alcohol • ใช้ในกรณีทำความสะอาดมือ • อย่างเร่งด่วนหรือบริเวณที่ไม่มีอ่างล้างมือ • ใช้ประมาณ 5 cc หรือปริมาณที่เพียงพอที่จะถูมือทั้ง 2 ข้างให้ทั่วและรอจนกระทั่งน้ำยาบนมือแห้ง ไม่ควรใช้ในกรณีมือเปื้อนสิ่งสกปรกมาก เปื้อนเลือด หรือ สารคัดหลั่งจากร่างกายผู้ป่วย

  13. การป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจการป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ สาเหตุของการเกิด • การสำลักเอาเชื้อบริเวณช่องปากและคอ • สูดหายใจเอาเชื้อเข้าไป • การแพร่กระจายเชื้อจากบริเวณอื่น

  14. การป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจการป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ • ในขอบข่ายงานของ PN&HP • การเฝ้าระวัง มีไข้ เสมหะเปลี่ยน • การทำลายเชื้อ และการทำให้อุปกรณ์เครื่องช่วยหายใจปราศจากเชื้อ • การตัดวงจรการแพร่กระจายชื้อ • - การล้างมือ • - การสวมถุงมือเมื่อต้องสัมผัสอุปกรณ์ที่ปนเปื้อนสารคัดหลั่ง

  15. - สวมเสื้อคลุมหากคาดว่ามีการกระเด็น และเปลี่ยนเมื่อต้องให้การดุแลผู้ป่วยรายอื่น - เปลี่ยนถุงมือและล้างมือเมื่อดูแลผู้ป่วยแต่ละราย หลังจากหยิบจับ หรือสัมผัสอุปกรณ์ที่ปนเปื้อนสารคัดหลั่ง - ปฏิบัติตามมาตรฐานในการดูแลผู้ป่วยเจาะคอ เช่น การทำแผลเจาะคอ - ปฏิบัติตามมาตรฐานในการ Suction Mouth care

  16. การป้องกันการเกิดปอดอักเสบหลังการผ่าตัดการป้องกันการเกิดปอดอักเสบหลังการผ่าตัด - สอนให้ผู้ป่วยหายใจลึก ๆ ก่อนผู้ป่วยจะได้รับการผ่าตัด - หลังการผ่าตัดกระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจเข้าออกลึก ๆ และเดิน ถ้าไม่มีผลต่อการเจ็บป่วยของผู้ป่วย การดูแลเครื่องช่วยหายใจ • ขจัดน้ำที่ค้างอยู่ในท่อที่ต่อเครื่องช่วยหายใจ • น้ำที่ใช้เติมอุปกรณ์เครื่องช่วยหายใจควรใช้น้ำปราศจากเชื้อ

  17. อุปกรณ์ที่ใช้ในการช่วยชีวิตอุปกรณ์ที่ใช้ในการช่วยชีวิต • อุปกรณ์ที่ใช้ในการใส่ท่อช่วยหายใจ • Ambu bag • ล้างมือ • ระหว่างการใช้งาน ทำลายเชื้อบริเวณข้อต่อด้วย 75% alcohol • หลังใช้กับผู้ป่วยแต่ละราย ส่งทำลายเชื้อ

  18. การป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะจากการป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะจาก การคาสายสวนปัสสาวะ เชื้อจุลชีพเข้าสู่ระบบทางเดินปัสสาวะจำการคาสายสวนปัสสาวะได้ 4 ทาง • ปลายสายสวนขณะสวน • บริเวณเยื่อบุท่อปัสสาวะกับสายสวนด้านนอก • รอยต่อระหว่างสายสวน & ถุงปัสสาวะ • ส่วนปลายของถุงเก็บปัสสาวะ

  19. การป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะการป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะ การล้างมือ การปฏิบัติตามมาตรฐานการใส่สายสวนปัสสาวะ การปฏิบัติตามมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยที่ใส่สายสวนปัสสาวะ การดูแลให้มีระบบระบายปัสสาวะแบบปิด รักษาระบบให้เป็นแบบปิดอยู่เสมอ ไม่ปลดข้อต่อต่าง ๆ เว้นแต่จำเป็น หากเกิดความบกพร่องให้ปฏิบัติตามเทคนิคปลอดเชื้อ ถุงปัสสาวะอยู่ต่ำกว่ากระเพาะปัสสาวะ ไม่ควรปล่อยให้ปัสสาวะเต็มถุง ควรเทปัสสาวะทิ้งด้วยวิธีที่ถูกต้อง ปลายท่อเทปัสสาวะต้องห่างจากพื้น

  20. การสวนล้าง ต้องการปัสสาวะจำนวนน้อย ต้องการปัสสาวะจำนวนมาก การเก็บตัวอย่างปัสสาวะ หลีกเลี่ยงการปลดสายสวน P – care อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง / ทุกครั้งที่ผู้ป่วยถ่ายอุจจาระ

  21. การป้องกันการติดเชื้อแผลผ่าตัดการป้องกันการติดเชื้อแผลผ่าตัด ก่อนการผ่าตัด • การโกนขนควรโกนทันที/ใกล้เวลาผ่าตัดมากที่สุด • ดูแลให้ผู้ป่วยอาบน้ำทำความสะอาดร่างกาย • ทำความสะอาดบริเวณผ่าตัด • เตรียมผิวหนังให้กว้างพอเพื่อให้สามารถขยายรอยแผลผ่าตัด/บริเวณใส่ท่อระบาย การเตรียมผู้ป่วย

  22. การระบายอากาศ • ประตูห้องผ่าตัดควรปิดตลอดเวลา • จำกัดจำนวนบุคลากรเท่าที่จำเป็น • การทำความสะอาดห้องผ่าตัด • ทำความสะอาดตามมาตรฐาน • เช็ดห้องผ่าตัดหลังจาก case สุดท้าย และก่อนเริ่ม case • อุปกรณ์เครื่องมือผ่าตัดปราศจากเชื้อ • ใช้เทคนิคปลอดเชื้อ ขณะผ่าตัด • บุคลากรในทีมผ่าตัด • ตัดเล็บให้สั้น • การล้างมือ • หลังฟอกมือยกมือขึ้นเพื่อให้น้ำไหลจากปลายนิ้วมือไปยังข้อศอก เช็ดมือด้วยผ้าปราศจากเชื้อ • ไม่สวมเครื่องประดับ

  23. หลังการผ่าตัด • การปฏิบัติตามมาตรฐานการทำแผล • การให้ความรู้ผู้ป่วยและญาติในเรื่องการดูแลแผล • การเฝ้าระวังการติดเชื้อแผลผ่าตัด • ไข้ • แผลบวมแดง/มีหนอง

  24. ตะวันตก เพื่อรอให้ตะวันขึ้นในวันใหม่ การให้ความรู้ครั้งนี้สิ้นสุดลงด้วยเวลา แต่หวังว่าพรุ่งนี้ความรู้จะถูกนำไปปฏิบัติ ขอบคุณค่ะ

More Related