1 / 33

การบูร ณา การความ ร่วมมือภาค การศึกษา ภาคเอกชน ภาควิจัย ภาคสังคม และภาครัฐ

การบูร ณา การความ ร่วมมือภาค การศึกษา ภาคเอกชน ภาควิจัย ภาคสังคม และภาครัฐ ในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน “ด้านการศึกษา” เมื่อเข้าสู่ AEC ปี 2558. โดย รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ กำจร ตติยกวี รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา. โรงแรมรามา การ์เด้นท์ กรุงเทพฯ 24 สิงหาคม 2555.

Download Presentation

การบูร ณา การความ ร่วมมือภาค การศึกษา ภาคเอกชน ภาควิจัย ภาคสังคม และภาครัฐ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบูรณาการความร่วมมือภาคการศึกษา ภาคเอกชน ภาควิจัย ภาคสังคม • และภาครัฐ • ในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน “ด้านการศึกษา” เมื่อเข้าสู่ AECปี 2558 • โดยรองศาสตราจารย์ นายแพทย์ กำจร ตติยกวี • รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา • โรงแรมรามาการ์เด้นท์ กรุงเทพฯ • 24 สิงหาคม 2555

  2. ประเด็นที่จะนำเสนอ • ผลกระทบของ AEC • ความคาดหวังของภาครัฐต่อการศึกษา ในการเพิ่มขีดความสามารถของประเทศ • รูปแบบและแนวทางการบูรณาการ ความร่วมมือ • U I R S G

  3. ผลกระทบเมื่อเป็น AEC สินค้า ภาษีนำเข้าเป็นศูนย์/ ภาษีนำเข้าระหว่างอาเซียนด้วยกันหมดไป ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง ทำธุรกิจบริการในอาเซียนได้อย่างเสรี ธุรกิจบริการ ลงทุนในอาเซียนได้อย่างเสรี ลงทุน แรงงาน แรงงานฝีมือเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีในอาเซียน

  4. เคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC 1. เปิดเสรีการค้าสินค้า • ลดภาษีนำเข้าเป็นลำดับตั้งแต่ปี 2536 อาเซียน-6 ลดภาษีนำเข้าสินค้าจากอาเซียน เป็นศูนย์ CLMV ลดภาษีนำเข้าสินค้าจากอาเซียน เป็นศูนย์ ยกเว้น สินค้าอ่อนไหว(Sensitive List ) ภาษีไม่ต้องเป็น 0% แต่ต้องไม่เกิน 5% 1 มค. 2553(2010) 1 มค. 2558(2015) และ สินค้าในรายการอ่อนไหวสูง(Highly Sensitive List) ให้กำหนดภาษีได้เป็นพิเศษ แต่ต้องลดลงในระดับที่สมาชิกยอมรับได้ สินค้าอ่อนไหวสูง : ข้าว และน้ำตาล ประเทศที่ขอไว้ : อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ที่มา:กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

  5. เคลื่อนย้ายบริการเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC อะไร คือ ธุรกิจบริการ ? 2. เปิดเสรีการค้าบริการ ต้องลด/เลิก • ตกลงที่จะขจัดข้อจำกัด/อุปสรรคต่างๆในภาคบริการระหว่างกันในอาเซียน ประเทศปลายทาง ประเทศ ผู้ให้บริการ • ข้อจำกัดของการเข้าสู่ตลาดเช่น • การจำกัดสัดส่วนผู้ถือหุ้นต่างชาติ • การจำกัดมูลค่าการให้บริการ • จำกัดจำนวนสถานบริการ • การจำกัดประเภทนิติบุคคล • การจำกัดจำนวนบุคคลผู้ให้บริการ • การจำกัดประเภทผู้บริการ • การไม่อนุญาตให้บุคคลากร (ผู้ให้บริการ) เข้ามาให้บริการ ที่มา:กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

  6. เคลื่อนย้ายบริการเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC ปี 2553 (2010) ปี 2556 (2013) ปี 2558 (2015) 70% 70% 70% • อนุญาตให้ผู้ประกอบธุรกิจบริการของอาเซียนไปทำธุรกิจในอาเซียนอื่น โดยถือหุ้นได้อย่างน้อยถึง 70% • โดยมีลำดับดำเนินการ คือ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT)/ สุขภาพ / ท่องเที่ยว / การขนส่งทางอากาศ โลจิสติกส์ 51% สาขาอื่นๆ ที่เหลือทั้งหมด 51% ที่มา:กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

  7. “ภาคบริการ” VS“การลงทุน” ในความตกลงการค้าเสรี: ธุรกิจอะไรคือ “ภาคบริการ” อะไรคือ “การลงทุน” ? ภาคบริการ1.บริการด้านธุรกิจ/วิชาชีพ (แพทย์ วิศวกร ทนายความ นักบัญชี ฯลฯ)2. บริการด้านสื่อสาร/โทรคมนาคม3. บริการด้านการก่อสร้าง 4. บริการด้านการจัดจำหน่าย5. บริการด้านการศึกษา6. บริการด้านสิ่งแวดล้อม7. บริการด้านการเงิน8. บริการด้านสุขภาพ 9. บริการด้านการท่องเที่ยว 10. บริการด้านนันทนาการ 11. บริการด้านการขนส่ง12. บริการอื่นๆ 7 ภาคที่ไม่ใช่บริการ=ลงทุน1. การเกษตร2. การประมง3. ป่าไม้4. เหมืองแร่5. ภาคการผลิต(อุตสาหกรรม)+ ธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับ 5 สาขา แยกเป็น 128 สาขาย่อย ที่มา:กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

  8. เคลื่อนย้ายลงทุนเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC การลงทุน1. การเกษตร2. การประมง3. ป่าไม้4. เหมืองแร่5. ภาคการผลิต(อุตสาหกรรม) 3. เปิดเสรีลงทุน • ต้องปฏิบัติกับนักลงทุนอาเซียนเช่นเดียวกับนักลงทุนตนเอง • ครอบคลุมการเปิดเสรี คุ้มครองการลงทุน ส่งเสริมการลงทุน อำนวยความสะดวกการลงทุน • สาขาที่ยังไม่พร้อม สามารถขอสงวน(ไม่เปิดเสรี)ไว้ได้

  9. เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC 4. เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี • อำนวยความสะดวกการตรวจลงตรา/ออกใบอนุญาตทำงาน • ทำข้อตกลงยอมรับร่วม (MRAs) สาขาวิชาชีพหลัก • ยอมรับซึ่งกันและกันเรื่อง “คุณสมบัติ” ที่เป็นเงื่อนไขในการได้รับอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพ • นักวิชาชีพในอาเซียนประเทศหนึ่ง สามารถจดทะเบียนเพื่อประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นๆได้ แต่ยังต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบภายในของประเทศนั้นๆในการอนุญาตประกอบวิชาชีพสาขานั้นๆ • ปัจจุบัน ตกลงกันได้แล้ว 7 สาขา และกำลังดำเนินการสาขาการท่องเที่ยว สาขาวิศวกรรม สาขาพยาบาล สาขานักสำรวจ สาขาแพทย์ สาขานักบัญชี สาขาสถาปัตยกรรม สาขาทันตแพทย์ ที่มา:กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

  10. การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของ IMD Evaluation Criteria ที่มา : TMA

  11. IMD:THE WORLD COMPETITIVENESS SCOREBOARD 2012 ที่มา : TMA

  12. IMD:THE WORLD COMPETITIVENESS SCOREBOARD 2012 ที่มา : TMA

  13. IMD: Asian Countries Ranking 2012 ที่มา : TMA

  14. ASEAN Overall Ranking 2002-2012 ที่มา : TMA

  15. IMD: Thailand 2002 -2012 ที่มา : TMA

  16. IMD: ASEAN Overall & Factor Benchmarking 2012 ที่มา : TMA

  17. สรุป • ศักยภาพของไทยลดลงในด้าน เงินเฟ้อ, Green Tech., เทคโนโลยีคมนาคม, • การท่องเที่ยว, ระบบยุติธรรม, จริยธรรม, ระบบการศึกษา, การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ • ในการจัดอันดับ 59 ประเทศ ไทยได้อันดับ 4 ทางด้านศักยภาพของตลาดแรงงาน แต่ได้อันดับต่ำทางด้านการศึกษา (52) และโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยี (49) • ทางด้านทักษะภาษาอังกฤษ ไทยจัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่กำลังคนมีความสามารถภาษาอังกฤษต่ำสุดในโลก (54) และเป็นอันดับรองสุดท้ายในเอเชีย

  18. เปรียบเทียบอันดับในระดับโลกทางสาขาวิชา Medicine จุฬาฯ ได้อันดับที่ 151

  19. International Research Publications Record of Thai Universities inScopusDatabase 2009 2005

  20. ศักยภาพในการแข่งขันของอุดมศึกษาไทยศักยภาพในการแข่งขันของอุดมศึกษาไทย • บุคลากรทางการวิจัยน้อย • งบประมาณสนับสนุนการวิจัยน้อย • จำนวนผลงานทางวิชาการในระดับนานาชาติน้อย (แต่กำลังมีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว) • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียังไม่สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล

  21. ความคาดหวังของภาครัฐต่อการศึกษาความคาดหวังของภาครัฐต่อการศึกษา ในการเพิ่มขีดความสามารถของประเทศ

  22. IMD พิจารณาการจัดอันดับการแข่งขันจาก 4 องค์ประกอบหลัก ซึ่งคะแนนที่ได้ เป็นผลมาจาก “คุณภาพคน” (= คุณภาพการศึกษา)

  23. ดัชนีที่ใช้ในการจัดอันดับด้านการศึกษาของ IMD • 1. โอกาสความเสมอภาคและทั่วถึง • อัตราเข้าเรียนมัธยม • อัตราการไม่รู้หนังสือของผู้ใหญ่ • 3. ประสิทธิภาพการจัดการศึกษา • การถ่ายโอนความรู้ระหว่างม.กับภาคธุรกิจ • การจัดการด้านการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการภาคธุรกิจ • การตอบสนองความสามารถแข่งขันของระบบการศึกษา • การตอบสนองความสามารถแข่งขันของ กศ.ระดับมหาวิทยาลัย • ร้อยละงบประมาณรายจ่ายด้าน กศ.(GDP) • งบประมาณรายจ่ายด้าน กศ.ต่อหัว • 2. คุณภาพการศึกษา • อัตราส่วน นร./ครู ประถม • อัตราส่วน นร./ครู มัธยม • ผลสัมฤทธิ์ของอุดมศึกษา • วิศวกรที่มีคุณวุฒิตามความต้องการของตลาดแรงงาน • ทักษะด้านภาษาที่ตอบสนองความต้องการของผู้ประกอบการ • ฯลฯ

  24. ถ้าต้องการเพิ่มขีดความสามารถของประเทศถ้าต้องการเพิ่มขีดความสามารถของประเทศ ก็ต้องทำให้การศึกษาถูกจัดอันดับดีขึ้น = ทุ่มเทไปที่คุณภาพการศึกษา ให้เหนือกว่าประเทศคู่แข่งของเรา

  25. รูปแบบและแนวทางบูรณาการความร่วมมือรูปแบบและแนวทางบูรณาการความร่วมมือ U – I - R- S- G

  26. ปัญหาของประเทศไทย Ex. คณะเดียวกัน ต่างภาควิชา จะใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ ร่วมกัน ไม่อาจทำได้ (อาจจะติดขัดเรื่องระเบียบพัสดุ ?)

  27. การเพิ่มขีดความสามารถของประเทศการเพิ่มขีดความสามารถของประเทศ เพื่อให้การแข่งขันได้นั้น สกอ. ในฐานะภาครัฐ ทำคนเดียว Impossible ! ทุกภาคส่วนต้องร่วมมือกัน ทั้งนี้ หากมีนโยบายและงบประมาณจากรัฐบาลสนับสนุนด้วยก็มีความเป็นไปได้มากขึ้น

  28. การก้าวสู่ประชาคมอาเซียน (หรือในเวทีโลก) • พยายามผลักดันให้เกิดความร่วมมือระหว่าง U I R S G ทั้งภาคทวิภาคี พหุภาคี • เสริมสร้างความร่วมมือระหว่างกัน และทำงานร่วมกันเป็นเครือข่าย • ปรับตัวให้สามารถแข่งขันได้

  29. รูปแบบความร่วมมือ U I R S G IR S G U R S G U I S G U I R G U I R S แต่ละภาคส่วน สามารถเป็นผู้นำในด้านที่ตนเองมีความเชี่ยวชาญ ขณะเดียวกันทุกภาคส่วน ก็มีการประสานร่วมมือกันทำงาน อย่างใกล้ชิด

  30. ข้อเสนอแนะอื่นๆ • ควรให้ความสำคัญกับสาขาวิชาชีพ 8 สาขาที่ทำ MRAs • การอ่านสัญญา / ข้อตกลงทำงานที่เป็นภาษาอังกฤษให้เข้าใจ มีความจำเป็น • จึงควรส่งเสริมการเรียนสาขานิติศาสตร์ภาคภาษาอังกฤษ หรือ • ให้มีการเรียนการสอนเรื่องสัญญา / กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน • ในประเทศเพื่อนบ้านเป็นภาษาอังกฤษไว้ในหลักสูตรวิชาชีพทั้ง 8 สาขา

  31. ขอบคุณ

More Related