1 / 19

เศรษฐกิจในสมัยอยุธยา

เศรษฐกิจในสมัยอยุธยา. เศรษฐกิจสมัยอยุธยาดีเพราะ

bina
Download Presentation

เศรษฐกิจในสมัยอยุธยา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เศรษฐกิจในสมัยอยุธยา

  2. เศรษฐกิจสมัยอยุธยาดีเพราะเศรษฐกิจสมัยอยุธยาดีเพราะ ความอุดมสมบูรณ์ของบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง  การมีแหล่งน้ำจำนวนมาก  ดินมีความอุดมสมบูรณ์เพราะเกิดจากการทับถมของดินตะกอนแม่น้ำ  ซึ่งเหมาะสำหรับการทำนา  ทำให้อาณาจักรอยุธยาเป็นแหล่งเพาะปลูกที่สำคัญ  นอกจากนี้การมีทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมกับการค้าขายกับเมืองต่างๆ ที่อยู่ภายในตามเส้นทางแม่น้ำ และการค้าขายกับภายนอกทางเรือสำเภา  ทำให้เศรษฐกิจอยุธยามีพื้นฐานสำคัญอยู่ที่การเกษตรและการค้ากับต่างประเทศ ต่อมาได้พัฒนาเป็นศูนย์กลางทางการค้าในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

  3. ประวัติแม่น้ำรอบอยุธยาประวัติแม่น้ำรอบอยุธยา กรุงศรีอยุธยาตั้งอยู่บนบริเวณซึ่งมีแม่น้ำล้อมรอบถึง 3 สาย อันได้แก่ แม่น้ำป่าสักทางทิศเหนือ, แม่น้ำเจ้าพระยาทางทิศตะวันตกและทิศใต้ และแม่น้ำลพบุรีทางทิศตะวันออก เดิมทีบริเวณนี้ไม่ได้มีสภาพเป็นเกาะ แต่พระเจ้าอู่ทองทรงดำริให้ขุดคูเชื่อมแม่น้ำทั้ง 3 สาย เพื่อให้เป็นปราการธรรมชาติป้องกันข้าศึก ที่ตั้งกรุงศรีอยุธยายังอยู่ห่างจากอ่าวไทยไม่มากนัก ทำให้กรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการค้ากับชาวต่างประเทศด้วย

  4. การค้าในอยุธยา การค้าสมัยอยุธยา 1) การค้าภายในประเทศ - ระบบแลกเปลี่ยนโดยตรง คือ การเอาสินค้ามาแลกเปลี่ยนกันโดยตรง - ระบบแลกเปลี่ยนด้วยเงินตรา คือ การซื้อขายกันอย่างทุกวันนี้ คือการนำสินค้าไปแลกเปลี่ยนเป็นเงินตราก่อน (การขาย) เมื่อต้องการสิ่งใดก็นำเงินตรานั้นแลกมา (การซื้อ) 2) การค้ากับต่างประเทศ

  5. ชาติตะวันตกชาติแรกที่ได้ทำการค่าค้า สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ใน พ.ศ.2054ทูตนำสารของ อัลฟองโซ เดอร์ก แม่ทัพใหญ่ของโปรตุเกสได้เดินทางมากรุงศรีอยุธยา เพื่อเจริญสัมพันธไมตรีและการค้า พระองค์ทรงตอบรับไมตรีจากโปรตุเกส และได้ทำสัญญาทางราชไมตรีกับทางการค้าต่อกัน ใน พ.ศ. 2059 นับเป็นสัญญาฉบับแรกที่ไทยทำกับต่างประเทศ โปรตุเกสจึงนับเป็นประเทศแรกในทวีปยุโรปที่เข้ามาในกรุงศรีอยุธยา ผลจากการเข้ามาสร้างไมตรีของชาวโปรตุเกส ได้มีการนำเอาอาวุธแบบใหม่ที่มีประสิทธิภาพเข้ามาถวาย ได้แก่ ปืนประเภทต่าง ๆ และกระสุนดินดำ ต่อมาชาวโปรตุเกสได้เข้ามาเป็นทหารอาสาฝรั่ง ได้ช่วยฝึกวิธีการใช้อาวุธแบบตะวันตกกับกรุงศรอยุธยา

  6. จีนได้มีการค้าขายกับกรุงศรีอยุธยามาตั้งแต่ตอนต้นของกรุงศรีมีสัมพันธ์ทำไมตรีที่ดีมาช้านานและยังเป็นประเทศที่มีการค้าขายที่มากที่สุดที่นับจากประเทศต่างๆจีนได้มีการค้าขายกับกรุงศรีอยุธยามาตั้งแต่ตอนต้นของกรุงศรีมีสัมพันธ์ทำไมตรีที่ดีมาช้านานและยังเป็นประเทศที่มีการค้าขายที่มากที่สุดที่นับจากประเทศต่างๆ

  7. ฝรั่งเศสเข้ามาติดต่อกับกรุงศรีอยุธยาในช่วงพุธศตวรรษที่  23 หลังชาวยุโรปชาติอื่นๆ  ความสัมพันธ์กับฝรั่งเศสเป็นระยะเวลาค่อนข้างสั้นเฉพาะในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเท่านั้น  สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงให้การต้อนรับคณะบาทหลวงชาวฝรั่งเศสเป็นอย่างดี  นอกจากจะเผยแพร่คริสต์ศาสนาแล้ว  พวกบาทหลวงยังทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างรัฐบาลของพระเจ้าหลุยส์ที่  14  กับราชสำนักอยุธยา  พ่อค้าฝรั่งเศสได้รับอนุญาตให้เข้ามาทำการค้าที่กรุงศรีอยุธยา  หลังจากนั้นทั้งสองฝ่ายได้แลกเปลี่ยนคณะทูตระหว่างกัน คณะทูตของฝรั่งเศสชุดแรกเข้ามาใน  พ.ศ.  2228  โดยมีเชอวาเลีย  เดอ  โชมอง เป็นราชทูต  คณะทูตชุดที่ 2 เข้ามาใน พ.ศ.  2230  มีลาลูแบร์  เป็นราชทูต  ส่วนคณะทูตของไทยที่เดินทางไปถึงฝรั่งเศสและมีชื่อเสียงเป็นที่เลื่องลือคือคณะทูตที่มี  พระวิสุทธสุนทร ( โกษาปาน )  เป็นราชทูตได้เดินทางไปฝรั่งเศสใน พ.ศ. 2229จุดมุ่งหมายหลักของฝรั่งเศสอยู่ที่การติดต่อการค้ากับไทย 

  8. การค้ากับประเทศอังกฤษการค้ากับประเทศอังกฤษ อังกฤษอังกฤษเข้ามาติดต่อค้าขายกับกรุงศรีอยุธยาโดยมีวัตถุประสงค์ที่สำคัญคือการค้าและสินค้าที่อังกฤษนำเข้ามาขายในกรุงศรีอยุธยาและหัวเมือง คือผ้าชนิดต่าง ๆ โดยในพ.ศ.2155 ในสมัยพระเจ้าทรงธรรมทางอังกฤษได้ส่งทูตเข้ามาและทางอยุธยาให้การต้อนรับอย่างดีพร้อมกับให้ตั้งสถานีการค้าและบ้านเรือนในกรุงศรีอยุธยาได้แต่การค้าของอังกฤษตลอดระยะเวลานั้นไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควรจึงถอนตัวออกจากกรุงศรีอยุธยา ประกอบกับในระยะหลัง ๆมีความขัดแย้งกันอย่างรุนแรงถึงกับมีการสู้รบกันที่เมืองมะริดทำให้ความสัมพันธ์ไมตรีที่ดีกับอังกฤษต้องสิ้นสุดลงในพ.ศ.2230 

  9. การค้ากับฮอลันดา ฮอลันดาฮอลันดาปัจจุบันคือประเทศเนเธอร์แลนด์เข้ามาติดต่อกับอาณาจักรอยุธยาในสมัยตอนปลายรัชกาลของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชซึ่งหลังโปรตุเกสประมาณเกือบหนึ่งศตวรรษ การเข้ามาติดต่อของฮอลันดานั้นจะแตกต่างกับโปรตุเกสคือฮอลันดา นั้นสนใจเฉพาะด้านการค้าโดยไม่ได้สนใจในเรื่องการเผยแผ่คริสต์ศาสนาสำหรับสินค้าที่ชาวฮอลันดาต้องการจากอยุธยามากเช่น เครื่องเทศ พริกไทย หนังกวาง และช้าว ฯลฯ ตลอดสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชนั้นไทยกับฮอลันดามีความผูกพันธ์กับเป็นอย่างดีต่อมาในสมัยพระเจ้าปราสาททองความผูกพันธ์ที่มีต่อกันเริ่มมีปัญหาเนื่องจากฮอลันดาไม่ช่วยไทยปราบกบฏ และทำให้พระเจ้าปราสาททองต้องเข้มงวดกับฮอลันดามากขึ้น

  10. การจัดเก็บภาษีอากรในสมัยกรุงศรีอยุธยา หรือที่เรียกกันในสมัยนั้นว่า ส่วยสาอากร ได้มีการแบ่งการจัดเก็บออกเป็น 4 ประเภท คือ จังกอบ อากร ส่วย และฤชา โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1.  จังกอบ หรือ จำกอบ เป็นภาษีที่เรียกเก็บจากการชักส่วนสินค้า ที่นำเข้ามาจำหน่ายตามที่ได้อธิบายข้างต้น 2.  อากร หมายถึง ส่วนที่เก็บจากผลประโยชน์ที่ราษฎรทำมาหาได้ในการประกอบการต่างๆเช่น ทำนา ทำไร่ ทำสวน ฯลฯ หรือการได้รับสิทธิจากรัฐบาลไปกระทำการ เช่น ต้มกลั่นสุรา เก็บของในป่า จับปลาในน้ำ ฯลฯ เช่น อากรค่านา อากรสวน อากรสุรา อากรค่าน้ำ เป็นต้น การเก็บอากรอาจจัดเก็บเป็นตัวเงินหรือเป็นสิ่งของ ถือเป็นภาษีที่จัดเก็บตามหลักผลประโยชน์ที่ได้รับจากรัฐไม่ทางตรงก็ทางอ้อม

  11. 3.  ส่วยความหมายของส่วย สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงสันนิษฐานว่า คำว่า ส่วย - สิ่งของที่รัฐบาลเรียกร้องเอาจากเมืองที่อยู่ภายใต้ปกครอง หรืออยู่ในความคุ้มครองเป็นค่าตอบแทนการปกครองหรือคุ้มครอง ส่วยตามความหมายนี้จึงมีลักษณะเป็นเครื่องราชบรรณาการ                -   เงินช่วยราชการตามที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎรชายที่มิได้รับราชการทหารเป็นรายบุคคล เนื่องจากสังคมไทยแต่ดั้งเดิม มีระบบเกณฑ์แรงงานจากราษฎร โดยรัฐไม่ต้องจ่ายค่าจ้าง แต่จะให้ความคุ้มครองทางกฎหมายเป็นการตอบแทน ทั้งนี้เดิมราษฎรที่ถูกเกณฑ์แรงงาน จะมาประจำการเป็นเวลาปีละ 6 เดือน โดยผู้ที่ไม่มารับราชการเมื่อถึงเวรของตน จะต้องเสียส่วยเรียกว่า ส่วยแทนแรง เพื่อที่ราชการจะได้จ้างคนมาทำงานแทน ส่วยแทนแรง เพื่อที่ราชการจะได้จ้างคนมาทำงานแทน ส่วยแทนแรงนี้ได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็นเงินรัชชูปการในระยะต่อมา ( รัชกาลที่ 6 )

  12. 4.  ฤชา คือค่าธรรมเนียมที่ทางราชการเรียกเก็บจากราษฎรซึ่งได้รับประโยชน์จากรัฐเป็นการเฉพาะตัว เช่น ผู้ใดจะขอโฉนดตราสาร เพื่อมิให้ผู้อื่นบุกรุกแย่งชิงที่เรือกสวนไร่นา จักต้องเสียฤชาแก่รัฐ เป็นต้น ฤชาที่สำคัญได้แก่ ค่าธรรมเนียม และค่าปรับทางการศาล

  13. เงินตราในสมัยกรุงศรีอยุธยาเงินตราในสมัยกรุงศรีอยุธยา ก่อนหน้าการกำเนิดอาณาจักรอยุธยา มีเงินตราใช้กันแล้ว มีลัษณะคล้ายกำไรขอมือ ทำด้ยวโลหะเงินหนัก 4บาท มีตราคล้ายช่อดอกไม้ ตีประทับอยู่ 3ตรา เรียกว่า เงินกำไล ต่อมาจึงวิวัฒนาการจนมีรูปลักษณะกะทัดรัดคล้ายตัวด้วงขดอยู่ มีตราประทับที่ด้านบน ด้านหน้าและปลายขาทั้งสอง

  14. ด่านขนอม ขนอมใพระนครศรีอยุธยานั้นมีหน้าที่กักและจังจอบในพระนครมีรอบเกาะแม่น้ำทั้ง 4 1.ขนอมหลวงบางตะนาวศรี2.ขนอมปากภู 3.ขนอมบางลาง 4.ขนอมบ้านข้าวเม่า และยังมีขนอมบกที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพระนครที่ตำบล บ้านศาลาเกรียน คอยเก็บภาษีที่มาทางบก

  15. ตลาดในพระนคร การค้าทั้งในและนอกจึงทำให้เกิดตลาด ตลาดที่ขายของชำและของสด มี 61 ตลาด ของชำสิ่งของเครื่องใช้ที่ใช้ทั่วไปรวมถึงอาหารแห้งมี 21 ตลาด เปิดขายตลอดวัน ของสดคือสิ่งของอาหารคาวสดๆมี 40 ตลาด เปิดขายเฉพาะตอนเช้ากับตอนเย็น

  16. 1.มีตลาดในกรุงศรีอยุธยาทั้งหมดกี่ตลาด1.มีตลาดในกรุงศรีอยุธยาทั้งหมดกี่ตลาด คำตอบ 61 ตลาด 2.มีขนอมทั้งหมดกี่ขนอม คำตอบ 5 ขนอม 3.มีขนอมที่อยู่บนบกถามว่าขนอมนี้อยู่ตำบลอะไร คำตอบ บ้านศาลาเกรียน 4.ต่างชาติประเทศแรกที่เราทำการค้าขาย คำตอบ ประเทศจีน 5.ที่ใดเป็นที่พักของท่าเรือสำเภาและเป็นแหล่งการค้าที่ใหญ่ที่สุด คำตอบ ป้อมเพรช

  17. 8.ฝรั่งเศสได้มาทำการค้าขายกับอยุธยาในสมัยของใคร8.ฝรั่งเศสได้มาทำการค้าขายกับอยุธยาในสมัยของใคร คำตอบ สมัยของสมเด็จพระรามาธิบอดีที่ 2 7.ส่วยอากรมีกี่ประเภท คำตอบ มี 4 ประเภท 8.ชาติตะวันตกมาค้าขายกับอยุธยามีกี่ประเทศ คำตอบ 5 ประเทศ 9.ส่วยคืออะไร คำตอบ การส่งครื่องราชไปยังเมืองที่ถูกเขายึด 10.เงินตราการแรกเปลี่ยนของอยุธยาคืออะไร คำตอบ พดด้วง

  18. รายชื่อ • ด.ช. ศรัณย์ เต็มเปี่ยม ม.2/2 เลขที่2 • ด.ช. ธนบดี ปภาวินนรกุล ม.2/2 เลขที่7 • ด.ญ.ธันย์ชนก ภูสีน้ำ ม.2/2 เลขที่22 • ด.ญ. วิมลสิริ ทางธนกุล ม.2/2 เลขที่24 • ด.ญ.สิรินันท์ อินทร์แช่มชื่น ม.2/2 เลขที่28 • ด.ญ. อัจจิมา สัมพัจฉรากุล ม.2/2 เลขที่29 • ด.ญ. ปานชนก สิริวุฒิวิวัฒน์ ม.2/2 เลขที่34 • ด.ญ. ลลิดา พรหมทอง ม.2/2 เลขที่35 • ด.ญ.วชิราภรณ์ จวงงู ม.2/2

More Related