1 / 19

การบริหารจัดการน้ำ และการบริหารองค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน

การบริหารจัดการน้ำ และการบริหารองค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน. การบริหารจัดการน้ำ. 1. การบริหารจัดการชลประทานโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม ( Participatory Irrigation Management, PIM ). 2. 1.1 การบริหารจัดการน้ำระดับลุ่มน้ำ 1.2 การบริหารจัดการน้ำระดับอ่างเก็บน้ำ/แหล่งน้ำ

bisa
Download Presentation

การบริหารจัดการน้ำ และการบริหารองค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารจัดการน้ำและการบริหารองค์กรผู้ใช้น้ำชลประทานการบริหารจัดการน้ำและการบริหารองค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน

  2. การบริหารจัดการน้ำ 1. การบริหารจัดการชลประทานโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม (Participatory Irrigation Management, PIM) 2. 1.1 การบริหารจัดการน้ำระดับลุ่มน้ำ 1.2 การบริหารจัดการน้ำระดับอ่างเก็บน้ำ/แหล่งน้ำ 1.3 การบริหารจัดการน้ำระดับคลองส่งน้ำ 1.4 การบริหารจัดการน้ำระดับคูส่งน้ำ/ท่อ

  3. 2.1 ความหมายการบริหารจัดการชลประทานโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม หมายถึง การบริหารจัดการชลประทานโดยให้เกษตรกรหรือผู้ใช้น้ำชลประทาน ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายของการบริหารจัดการชลประทาน เข้ามามีส่วนร่วมกับกรมชลประทานในการตัดสินใจบริหารจัดการและดำเนินงานกิจกรรมชลประทานทั้งในด้านการก่อสร้างด้านการส่งน้ำ และบำรุงรักษา ตามที่ได้ตกลงเห็นชอบร่วมกัน

  4. 2.2 11 กิจกรรมการดำเนินงาน PIMการดำเนินงานการมีส่วนร่วมด้านการส่งน้ำและบำรุงรักษา ได้จำแนกออกเป็น 11 กิจกรรม คือกิจกรรมที่ 1 การสร้างความเข้าใจกิจกรรมที่ 2 การจัดทำข้อตกลงกิจกรรมที่ 3 การจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทาน องค์กรผู้ใช้น้ำกิจกรรมที่ 4 การเสริมสร้างความเข้มแข็งกิจกรรมที่ 5 การยกระดับองค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน

  5. กิจกรรมที่ 6 การจัดตั้งคณะกรรมการกิจกรรมที่ 7 การจัดตั้งกองทุนกิจกรรมที่ 8 การจ้างเหมางานบำรุงรักษาแก่กลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทานกิจกรรมที่ 9 การมีส่วนร่วมในการส่งน้ำและบำรุงรักษากิจกรรมที่ 10 การประเมินความเข้มแข็งองค์กรผู้ใช้น้ำชลประทานกิจกรรมที่ 11 การจัดทำข้อมูลพื้นฐานโครงการ

  6. 2.3 การส่งน้ำและบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม 14 ขั้นตอน ขั้นตอนการส่งน้ำและบำรุงรักษาแบบมีส่วนร่วม 14 ขั้นตอน มีดังนี้1) เจ้าหน้าที่ชลประทานกำหนดพื้นที่ส่งน้ำเป้าหมายเบื้องต้นตามปริมาณน้ำที่มี 2) กลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทานแจ้งความต้องการ ปลูกพืช 3) เจ้าหน้าที่ชลประทานวางแผนการส่งน้ำและบำรุงรักษาให้สอดคล้องกับความต้องการของเกษตรกร

  7. 4) คณะกรรมการกลุ่มฯ / คณะกรรมการจัดการชลประทานประชุมพิจารณาแผนการส่งน้ำฯ และหาข้อตกลงการส่งน้ำ 5) แจ้งข้อตกลงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแก่สมาชิกกลุ่มฯ 6) เกษตรกรร่วมกันบำรุงรักษาคูส่งน้ำ 7) กลุ่มผู้ใช้น้ำและเจ้าหน้าที่ร่วมส่งน้ำตามแผนจนสิ้นฤดู 8) เจ้าหน้าที่ออกเยี่ยมให้ความรู้เพื่อสร้างความเข้มแข็งกลุ่มผู้ใช้น้ำตลอดฤดู

  8. 9) เจ้าหน้าที่วัดปริมาณน้ำที่ส่งให้แปลงเพาะปลูก10) กลุ่มผู้ใช้น้ำรายงานพื้นที่เพาะปลูกจริง 11) เจ้าหน้าที่สำรวจผลผลิต ความพึงพอใจของเกษตรกร 12) เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลประมวลผลการดำเนินงาน 13) คณะกรรมการจัดการชลประทานประเมินผลการดำเนินงานและความเข้มแข็งกลุ่มฯ 14) รายงานผลการส่งน้ำและบำรุงรักษาประจำฤดูกาล

  9. 2.4 ประโยชน์ของการบริหารจัดการชลประทานโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม1) อาคารชลประทานเกิดประโยชน์ตามความต้องการของเกษตรกร และหลักการชลประทาน 2) มีความรู้สึกร่วมเป็นเจ้าของ 3) การจัดสรรน้ำและบำรุงรักษา ตรงตามความต้องการของเกษตรกร อย่างทั่วถึง เป็นธรรมและประหยัด 4) ลดปัญหาความขัดแย้งระหว่างเกษตรกรด้วยกันเองและเจ้าหน้าที่

  10. 2.5 เงื่อนไขความสำเร็จของการบริหารจัดการชลประทานโดยเกษตรกร มีส่วนร่วม1) การกำหนดนโยบายและเป้าหมาย 2) การสร้างให้เกิดความเข้าใจ 3) การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน 4) การพัฒนาองค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน 5) การวางระบบติดตามและประเมินผล

  11. องค์กรผู้ใช้น้ำชลประทานองค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน 3. 3.1 องค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน องค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน หมายถึง กลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทาน (กลุ่มพื้นฐาน) กลุ่มบริหารการใช้น้ำชลประทาน กลุ่มเกษตรกรผู้ใช้น้ำชลประทาน สมาคมผู้ใช้น้ำชลประทานและสหกรณ์ ผู้ใช้น้ำชลประทานที่เกิดขึ้นจากการที่เกษตรกรผู้ใช้น้ำ ในเขตรับน้ำชลประทาน ได้รวมตัวกันจัดตั้งขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการจัดการน้ำและบำรุงรักษาระบบชลประทาน

  12. 3.2 ประเภทขององค์กรผู้ใช้น้ำชลประทาน องค์กรผู้ใช้น้ำชลประทานแบ่งตามสถานภาพด้านกฎหมายออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) ประเภทที่ไม่เป็นนิติบุคคล ได้แก่ - กลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทาน (กลุ่มพื้นฐาน) (Water Users Group : WUG) - กลุ่มบริหารการใช้น้ำชลประทาน (Integvated Water Users Group : IWUG)

  13. 2) ประเภทเป็นนิติบุคคล ได้แก่ - กลุ่มเกษตรกรผู้ใช้น้ำชลประทาน (Farmer Group : FG) - สมาคมผู้ใช้น้ำชลประทาน (Water Users Accociation : WUA) - สหกรณ์ผู้ใช้น้ำชลประทาน (Water Users Co-operative : WUC)

  14. การพัฒนาการบริหารจัดการน้ำการพัฒนาการบริหารจัดการน้ำ 4. 4.1 การศึกษาเกณฑ์ปฏิบัติการอ่างเก็บน้ำ (Reservoir Rule Curve Study) 1)การเตรียมข้อมูล 1.1) ข้อมูลอ่างเก็บน้ำ 1.2) ข้อมูลความต้องการใช้น้ำ 1.3) ข้อมูลโครงการฯ 2) การวิเคราะห์ข้อมูล 3) การกำหนดข้อกำหนดในการศึกษา Rule Curve

  15. 4.2 การวัดปริมาณน้ำโดยใช้เครื่องวัดความเร็วกระแสน้ำ (Current Meter) 4.3การส่งน้ำแบบหมุนเวียน (Rotation Method) หลักการที่สำคัญของการส่งน้ำโดยวิธีนี้มีอยู่ 3 ประการ คือ 1. แบ่งพื้นที่ที่จะต้องส่งน้ำทั้งหมดออกเป็นแปลงย่อย ๆ แล้วจัดเรียงลำดับของแปลงที่จะส่งน้ำให้ 2. คำนวณปริมาณน้ำที่จะต้องส่งให้กับแปลงย่อยที่ได้แบ่งไว้ให้พอเหมาะกับความต้องการพืช ขนาดของแปลงและการสูญเสียน้ำจากการส่งน้ำและให้น้ำ 3. กำหนดระยะเวลาที่แต่ละแปลงย่อยจะได้รับ ระยะเวลาดังกล่าวนี้จะขึ้นอยู่กับขนาดของพื้นที่และอัตรา การส่งน้ำ

  16. การส่งน้ำแบบหมุนเวียนอาจแบ่งตามลักษณะการส่งน้ำแบบหมุนเวียนอาจแบ่งตามลักษณะ การหมุนเวียนออกได้เป็น 3 ประเภท - หมุนเวียนโดยคลองส่งน้ำสายใหญ่ - หมุนเวียนโดยคลองซอย - หมุนเวียนโดยคูส่งน้ำ

  17. งานก่อสร้างเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการน้ำอย่างไรงานก่อสร้างเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการน้ำอย่างไร - ต้องเข้าใจวัตถุประสงค์ของโครงการกับงานที่จะก่อสร้างว่าจะอำนวยประโยชน์ต่อความต้องการ ได้อย่างไรทั้งด้านการเกษตร , อุตสาหกรรม , อุปโภค-บริโภค และอื่นๆ - การมีมนุษย์สัมพันธ์กับผู้ใช้น้ำในระหว่างการก่อสร้างซึ่งจะเป็นพื้นฐานในการบริหารจัดการน้ำในโอกาสต่อไป - ตั้งแต่เริ่มก่อสร้างควรประสานงานกับ ผส.ชป. , ชคป. , ชคบ. โดยตลอด

  18. - ก่อนงานก่อสร้างจะเสร็จเรียบร้อยต้องมีการเตรียมการส่งมอบงานให้ค่อนข้างสมบูรณ์ ทั้งผู้ส่งมอบ และผู้รับมอบในบางครั้งอาจจะส่งมอบงานเพียงบางส่วนไปก่อน เพื่อให้สามารถบริหารจัดการน้ำได้ โดยไม่เกิดผลเสียหายต่อการก่อสร้าง - ผส.ชป จัดอัตรากำลังเข้าดำเนินการต่อจากงานก่อสร้าง -ในเขตโครงการก่อสร้างเจ้าหน้าที่กรมชลประทานทุกฝ่ายถือเป็นงานกรมชลประทานไม่ใช้งานของสำนัก , กองไหน และต้องร่วมกันแก้ไขปัญหาและชี้แจงราษฎร ไปในเดียวกัน

  19. ขอบคุณครับ

More Related