1 / 14

กลุ่ม 5 การเข้าถึงบริการสุขภาพ

กลุ่ม 5 การเข้าถึงบริการสุขภาพ. สมาชิกลุ่มผู้ร่วมอภิปราย. สสจ. อุบลราชธานี สสจ. หนองคาย สำนักวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย มูลนิธิศูนย์คุ้มครองสิทธิด้านเอดส์ มูลนิธิ ศุภ นิมิต มูลนิธิรักษ์ไทย USAID SDA MAP.

Download Presentation

กลุ่ม 5 การเข้าถึงบริการสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กลุ่ม 5การเข้าถึงบริการสุขภาพ

  2. สมาชิกลุ่มผู้ร่วมอภิปรายสมาชิกลุ่มผู้ร่วมอภิปราย • สสจ.อุบลราชธานี • สสจ.หนองคาย • สำนักวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย • มูลนิธิศูนย์คุ้มครองสิทธิด้านเอดส์ • มูลนิธิศุภนิมิต • มูลนิธิรักษ์ไทย • USAID • SDA • MAP

  3. 1.ประชากรข้ามชาติ และบุคคลอื่นที่ไม่มีสัญชาติไทย ที่มีช่องว่างต่อการบริการ คือ.... • คนไร้รัฐ คนที่อยู่ในแผ่นดินไทย ไม่มีเลข 13 หลัก ถือบัตรขึ้นต้นด้วยเลข 0 • ผู้ลี้ภัย • นักท่องเที่ยวต่างชาติ • บุคคลนอกเหนือจาก 3 สัญชาติ เช่น บังคลาเทศ โรฮิงญา เวียดนาม

  4. 2.จุดอ่อนในการบริการฯ สำหรับประชากรในข้อ 1 มี.... ด้านนโยบาย • มีนโยบายแต่ไม่มีการปฏิบัติระดับพื้นที่ • ผู้ถือกฎหมายตีตรา ตีสถานะว่าผิดกฎหมาย กับแรงงานหากไม่ขึ้นทะเบียน • ไม่มีการเปิดทำบัตรให้กับแรงงานคนใหม่ มีแต่เฉพาะแรงงานที่มี ทร38/1 • ค่าใช้จ่ายสูง ด้านระบบบริการ • ไม่มีพนักงานสาธารณสุขต่างด้าว อาสาสมัครต่างด้าวประจำสถานบริการด้านสุขภาพ • เอกสาร บัตรสุขภาพแรงงานเป็นภาษาไทย ระบบฐานข้อมูล ระบบประชาสัมพันธ์ • ขาดการประชาสัมพันธ์ที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย • ไม่มีการประชาสัมพันธ์ต่อเนื่อง

  5. จุดอ่อน ต่อ.... นายหน้า • ผลประโยชน์ทับซ้อน • เก็บค่าใช้จ่ายสูง นายจ้าง • ไม่พาแรงงานไปดำเนินการ • ยึดบัตร • สวมสิทธิ์ พาแรงงานใหม่มาสวมสิทธิแรงงานที่ย้ายออกไป แรงงาน • ย้ายที่ทำงานบ่อย • ไม่มีข้อมูล ไม่รู้ขั้นตอนการซื้อบัตร • ไม่เห็นประโยชน์ของสิทธิ์บัตร

  6. 3. ความไม่เท่าเทียมในการเข้าถึงบริการ มี.... สิทธิบัตร สิทธิประโยชน์ คนละมาตรฐานกับคนไทย ระบบประกันสังคม • ไม่มีบริการส่งเสริมสุขภาพ • ไม่มีการป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูก • VCCT STI ไม่มีการจัดบริการให้กับแรงงาน ระบบบริการ • โน้มน้าวบังคับทำหมันหญิงหลังคลอดในหญิงติดเชื้อ HIV , หญิงบริการ • ไม่มีอาสาสมัครสาธารณสุขข้ามชาติ • การสื่อสาร ไม่มีล่าม ไม่มีสื่อภาษาแรงงาน

  7. ความไม่เท่าเทียม ต่อ.... มาตรฐานบริการ • เก็บค่าตรวจ VCCT • เข้าไม่ถึงยาต้าน • ตรวจรักษา STI ต้องเสียเงิน NGO ทำงานไม่ครอบคลุมพื้นที่ ที่มีแรงงานอาศัยอยู่

  8. 4.อุปสรรคในการเชื่อโยงของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มี.... • ขาดการประสานงานระหว่างหน่วยงาน สสจ. ตม. สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน พมจ.ปกส. รพ. รพ.สต. ภาคประชาสังคม • แต่ละหน่วยงานยึดแนวปฏิบัติมีของตัวเองเป็นหลัก ส่งผลให้เกิดความขัดแย้งต่อกัน conflict policy • ผู้ปฏิบัติงานไม่เพียงพอ งานเยอะคนน้อย • หน่วยงานภาคประชาสังคมทำงานไม่ครอบคลุมพื้นที่ • รัฐบาลไทยไม่มีนโยบายระยะยาว • ไม่มีแผนแม่บทที่ชัดเจนกับแรงงานข้ามชาติ • รัฐไม่มีงบประมาณสนับสนุนในภาคประชาสังคมทำงานกับแรงงานข้ามชาติ • เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ ไม่ปฏิบัติตามนโยบาย • การสื่อสาร ไม่มีล่าม ไม่มีสื่อภาษาแรงงาน

  9. 5.ข้อคิดเห็นต่อบัตรประกันสุขภาพ 2200…. แรงงานซื้อ เพราะ.... • เห็นถึงสิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ • ต้องการมีหลักประกันด้านสุขภาพให้กับตนเองและครอบครัว แรงงานไม่ซื้อ เพราะ... • แพง ไม่มีเงิน • สบายดี ไม่เจ็บป่วย บัตรจึงไม่มีประโยชน์ ไม่มีความจำเป็น • เข้าไม่ถึงการประชาสัมพันธ์ • จนท.รัฐ ขาดความเข้าใจ ขาดความรู้ ไม่บอกประโยชน์ของบัตรกับแรงงาน

  10. การแก้ไข • ระดับนโยบายที่ขัดแย้งกัน แรงงานเข้าไม่ถึงบริการ และมีนโยบายแต่ไม่นำมาปฏิบัติในพื้นที่ • กิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหา จัดเวทีพูดคุยหาข้อกำหนดร่วมกันในระดับประเทศ /เปิดจุดร้องเรียน /กำหนดตรวจตัวชี้วัดของผู้ตรวจ • ผู้รับผิดชอบ (หลัก กระทรวงแรงงาน / องค์ระหว่างประเทศ / และคณะทำงาน รัฐบาลไทย/คณะทำงานระดับประเทศ/จังหวัด/ภาคธุรกิจต่างๆ/สหภาพแรงงาน/คระกรรมการเอดส์ชาติ • บทบาทหน้าที่ • ผู้ออกกฏหมายระหว่างประเทศ/ภาคประชาสังคม(NGO)

  11. การแก้ไข งานด้านการบริการ • ปัญหา ไม่มีล่าม /แรงงานเข้าไม่ถึงข้อมูล • กิจกรรมเพื่อแก้ไข จัดให้มีการจ้างล่ามภาษาแรงงาน (พสต.)/ จัดให้มีสื่อภาษาแรงงานและเอกสารภาษาแรงงาน / Hotline ภาษาต่างๆภายในจังหวัด /ให้มีสื่อตัวหนังสือวิ่งหลายภาษาในสถายบริการ • ผู้รับผิดชอบ สาธารณสุขหรือสถานบริการสุขภาพ และสำนักงานประกันสังคม • บทบาทหน้าที่

  12. การแก้ไข • ปัญหา นายจ้าง ไม่พาแรงงานไปดำเนินการทำบัตร • กิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหา ผู้บังคับใช้กฎหมายต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดชัดเจน และกำหนดมาตราการให้นายจ้างปฏิบัติอย่างชัดเจน สร้างแรงจูงใจโดยการมอบเกียรติบัตรโรงงานดีเด่นหรือให้การลดหย่อนภาษี • ผู้รับผิดชอบ ตำรวจ ประกันสังคม จัดหางาน นายจ้าง • บทบาทหน้าที่

  13. การแก้ไข • ปัญหา ตัวแรงงาน • กิจกรรมเพื่อแก้ไข ให้ข้อมูลอย่างทั่วถึง เปิดโอกาสให้คใหม่ขึ้นทะเบียนตลอดเวลา กระทรวงแรงงานให้ความรู้เรื่องสิทธิก่อนแรงงานขึ้นทะเบียนหรือเข้ามาทำงานในประเทศ • ผู้รับผิดชอบ • บทบาทหน้าที่

  14. ท้ายสุด.....ความร่วมมือในกลุ่มท้ายสุด.....ความร่วมมือในกลุ่ม • คุณฐิติยา สามารถ มูลนิธิศุภนิมิต ผู้ดำเนินรายการ • คุณเพ็ญนภา คงดี มูลนิธิรักษ์ไทย ผู้บันทึกข้อมูล • คุณพรเทพ ทิพยสุทธิ์สสจ.หนองคาย ผู้นำเสนอ ขอขอบคุณ และ สวัสดีครับ

More Related