1 / 79

การนำเสนอผลการดำเนินงาน ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดชัยนาท

การนำเสนอผลการดำเนินงาน ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดชัยนาท. วันที่ 5 กรกฎาคม 2547 ณ ศาลากลางจังหวัดชัยนาท. การดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ จังหวัดชัยนาท ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2547. นายวิชัย ศรีขวัญ ผู้ว่าราชการจังหวัดชัยนาท. ผู้ทำคำรับรอง. นายโภคิน พลกุล รองนายกรัฐมนตรี

boris-pena
Download Presentation

การนำเสนอผลการดำเนินงาน ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดชัยนาท

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การนำเสนอผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดชัยนาทการนำเสนอผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดชัยนาท วันที่ 5 กรกฎาคม 2547 ณ ศาลากลางจังหวัดชัยนาท

  2. การดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการจังหวัดชัยนาทประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2547

  3. นายวิชัย ศรีขวัญ ผู้ว่าราชการจังหวัดชัยนาท ผู้ทำคำรับรอง นายโภคิน พลกุล รองนายกรัฐมนตรี นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ผู้รับคำรับรอง การลงนามรับรอง วันที่ 26 ธันวาคม 2546

  4. ระยะเวลาคำรับรอง ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2546 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2547 รายละเอียดคำรับรอง • ยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด • ยุทธศาสตร์ของจังหวัด • แนวทางการพัฒนาการปฏิบัติราชการของจังหวัด • กรอบการประเมินผล • ประเด็นการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • น้ำหนัก ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการ • เป้าหมาย • เกณฑ์การให้คะแนน

  5. ผู้รับคำรับรอง วันที่ 15 มกราคม 2547 • 1. หัวหน้าส่วนราชการทุกกระทรวงในจังหวัด • 2. เจ้าภาพตามกลุ่มภารกิจ 4 ด้าน • ด้านเศรษฐกิจ = พัฒนาการจังหวัด • ด้านสังคม = นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด • ด้านความมั่นคง = ปลัดจังหวัด • ด้านบริหารจัดการ =ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาชัยนาท • 3. นายอำเภอ/ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ ผู้ทำคำรับรอง นายวิชัย ศรีขวัญ ผู้ว่าราชการจังหวัดชัยนาท

  6. ระยะเวลาคำรับรอง ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2546 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2547 รายละเอียดคำรับรอง • ยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด • ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดด้านเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคงและการบริหารจัดการ • ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการและเป้าหมายการดำเนินงาน

  7. 1.การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต1.การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 1.เสริมสร้างและพัฒนาชุมชนเข้มแข็ง 1.การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 1.การอำนวยประโยชน์ประชาชนและการพัฒนาข้าราชการและพนักงานของรัฐ 2.เสริมสร้างและเปิดโอกาสไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ 2.การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดชัยนาท 2.การสร้างโอกาสและกระจายรายได้ 2.การป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชั่น 3.ความสงบเรียบร้อย 3.สร้างสุขภาพ 3.ITเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ 4.ส่งเสริมการกีฬา 4.การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน

  8. 27 ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2547 จังหวัดชัยนาท มิติที่ 1ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ มิติที่ 2 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 1.ร้อยละงบประมาณที่ประหยัดได้ 2.ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักการลดรอบระยะเวลาขั้นตอนการปฏิบัติราชการ ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด ยุทธศาสตร์ จังหวัด นโยบายสำคัญ เร่งด่วนของรัฐบาล 1.ร้อยละที่เพิ่มของรายได้สินค้าอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม 2.ร้อยละที่เพิ่มของมูลค่าส่งออกไก่เนื้อ 3.ต้นทุนผลิตข้าวคุณภาพต่อไร่ (บาท/ไร่) 4.ร้อยละที่เพิ่มขึ้นรายได้เกษตรกรเปลี่ยนอาชีพ 5.ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการท่องเที่ยว 6.จำนวนผลิตภัณฑ์OTOP มาตรฐาน 4-5 ดาว 1.ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด(GPP) 2.ร้อยละที่ลดลงของคนในครอบครัวที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่า 20,000 บาทต่อปี 3.จำนวนของเมล็ดพันธุ์ที่ใช้ต่อไร่ 4.จำนวนแรงงานที่ยากจนและไร้ฝีมือได้รับการพัฒนาและทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน (คน) 5.ร้อยละเรื่องร้องเรียนที่ได้รับการตรวจสอบและแก้ไข 6.ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP 7.ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณและเงินอื่นๆตาม ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด 1.ร้อยละของหมู่บ้านเข้มแข็งที่เอาชนะยาเสพติด 2.ร้อยละที่ลดลงของอัตราการว่างงาน 3.ระดับความสำเร็จการจัดทำทะเบียนแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจนเชิงบูรณาการ 4.ร้อยละของผู้กู้ยืมเงินกองทุนของโครงการ กข..คจ.ที่สามารถชำระคืนตามกำหนด 5.อัตราส่วนของผู้กู้ยืมจากกองทุนหมู่บ้านที่สามารถชำระคืน มิติที่ 3 ด้านคุณภาพการให้บริการ 1.ผลความสำเร็จแผนการปรับปรุงแก้ไขบริการ 2.ร้อยละของระดับความพึงพอใจ มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร 1.ระดับความสำเร็จการพัฒนาระบบบริหารความรู้ในองค์กร 2.การพัฒนาระบบฐานข้อมูล(Database)ของจังหวัด

  9. แผนยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบนแผนยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน (จังหวัดสระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท) วิสัยทัศน์ เป็นแหล่งผลผลิตและรวบรวมสินค้าเกษตรกรรมเพื่อการส่งออก อุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้าง และเป็นศูนย์บริการคมนาคมทางบกที่ได้มาตรฐาน เป้าประสงค์ 1. สร้างรายได้และเพิ่มผลผลิตมวลรวม 2. เกษตรกรรม ข้าว ไก่ และอุตสาหกรรมได้รับการส่งเสริม 3. การคมนาคมทางบกมีสมรรถนะเพิ่มขึ้น ของกลุ่มจังหวัด และสร้างมูลค่าเพิ่มเพื่อการส่งออก และพัฒนาเป็นศูนย์บริการขนส่งและพาณิชยกรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. ศูนย์กลางส่งเสริมการผลิตในระบบฟาร์มที่ทันสมัย (Strategic lssues) 2. ปรับเปลี่ยนการส่งเสริมอาชีพภาคเกษตร เพื่อสร้างผลตอบแทนที่มีมูลค่าสูง 3. การสร้างมูลค่าเพิ่มในสินค้าหลัก 4. เชื่อมโยงการท่องเที่ยวอุทยานประวัคติศาสตร์พระนครศรีอยุธยามรดกโลกและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ประเด็นยุทธศาสตร์เสริม- พัฒนาเป็นศูนย์บริการ คมนาคมทางบก ยุทธศาสตร์ เสริมสร้างขีดความสามารถในอุตสาหกรรมสุขภัณฑ์ และวัสดุก่อสร้าง ยุทธศาสตร์ ส่งเสริมให้เกิดโครงข่ายคมนาคม ยุทธศาสตร์ พัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ในกลุ่มจังหวัด ยุทธศาสตร์ การสนับสนุนให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนอาชีพการเพาะปลูกพืชที่ไม่เหมาะสมไปยังอาชีพที่มีศักยภาพและมีมูลค่าเพิ่มที่สูงกว่า ยุทธศาสตร์ สร้างเสริมขีดความสามารถการแข่งขันอุตสาหกรรมไก่เนื้อ

  10. ตัวชี้วัดของจังหวัด ตัวชี้วัดของจังหวัด ตัวชี้วัดของจังหวัด ยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน ของจังหวัดชัยนาท ยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 4. เชื่อมโยงการท่องเที่ยวอุทยาน ประวัคติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา มรดกโลกและพัฒนาการองเที่ยว เชิงเกษตร 1. ศูนย์กลางส่งเสริมการผลิต ในระบบฟาร์มที่ทันสมัย (Strategic lssues) 2. ปรับเปลี่ยนการส่งเสริมอาชีพ ภาคเกษตร เพื่อสร้างผล ตอบแทนที่มีมูลค่าสูง 3. การสร้างมูลค่าเพิ่ม ในสินค้าหลัก ประเด็นยุทธศาสตร์เสริม- พัฒนาเป็นศูนย์บริการ คมนาคมทางบก ตัวชี้วัดของจังหวัด ตัวชี้วัดของจังหวัด 1.ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของ มูลค่าสินค้าการส่งออก ไก่เนื้อ 1.ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการท่องเที่ยว 2.จำนวนผลิตภัณฑ์ OTOP ที่ได้รับมาตรฐาน 4-5 ดาว ไม่มี 1.ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากสินค้าอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม 2.ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากเกษตรกรที่ปรับเปลี่ยนอาชีพ(นาหญ้า,โคเนื้อ,กระบือ,และแพะ) 3.ต้นทุนผลิตข้าวคุณภาพต่อไร่ (บาท/ไร่) ไม่มี

  11. ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบนสระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท

  12. ผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบนผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน ของจังหวัดชัยนาท 5 รายงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4 จังหวัดเจ้าภาพหลักประมวลผลข้อมูลภาพรวม กลุ่มจังหวัด 3 รายงานข้อมูลให้จังหวัดเจ้าภาพหลัก 2 จังหวัดจัดเก็บข้อมูลจากสำนักงานการไฟฟ้า ของแต่ละจังหวัด 1 แต่ละจังหวัดจัดกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุน เพิ่มรายได้ภาคอุตสาหกรรม ยุทธศาสตร์ : การสนับสนุนให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนอาชีพการเพาะปลูกพืชที่ไม่เหมาะสมไปยังอาชีพที่มีศักยภาพและมูลค่าเพิ่มที่สูงกว่า ตัวชี้วัด : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากสินค้าอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม(ภาคอุตสาหกรรม) ปัญหา/อุปสรรค

  13. ผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบนผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน ของจังหวัดชัยนาท ยุทธศาสตร์ : การสนับสนุนให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนอาชีพการเพาะปลูกพืชที่ไม่เหมาะสมไปยังอาชีพที่มีศักยภาพและมูลค่าเพิ่มที่สูงกว่า ตัวชี้วัด : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากสินค้าอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม(ภาคเกษตรกรรม) 5 รายงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4 จังหวัดเจ้าภาพหลักประมวลผลข้อมูลภาพรวม กลุ่มจังหวัด 3 รายงานข้อมูลให้จังหวัดเจ้าภาพหลัก 2 จังหวัดจัดเก็บข้อมูล 1 แต่ละจังหวัดจัดกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุน เพิ่มรายได้ภาคเกษตรกรรม ปัญหา/อุปสรรค 1.เกษตรกรไม่สามารถกำหนดราคาสินค้า/การแพร่ระบาดศัตรูพืช 2.เกษตรกรไม่มีที่ทำกินของตนเอง/ปัญหาหนี้สินของเกษตรกร

  14. ผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบนผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน ของจังหวัดชัยนาท ยุทธศาสตร์ : สร้างเสริมขีดความสามารถการแข่งขันอุตสาหกรรมไก่เนื้อ ตัวชี้วัด : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการส่งออกไก่เนื้อ 2 ส่งข้อมูลให้เจ้าภาพประมวลผล มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1 สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดแต่ละจังหวัดจัดเก็บ ข้อมูลรายเดือน ปัญหา/อุปสรรค

  15. ผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบนผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน ของจังหวัดชัยนาท ยุทธศาสตร์ : การสนับสนุนให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนอาชีพการเพาะปลูกพืชที่ไม่เหมาะสมไปยังอาชีพที่มีศักยภาพและมูลค่าเพิ่มที่สูงกว่า ตัวชี้วัด : ต้นทุนการผลิตข้าวคุณภาพต่อไร่(บาท/ไร่) 8 เจ้าภาพหลักประมวลผลและรายงาน 7 รายงานผลให้จังหวัดเจ้าภาพหลัก 6 เกษตรกรปลูกถั่วเขียวทดแทนข้าวเพื่อบำรุงดิน 5 ส่งเสริมการทำและใช้น้ำหมักชีวภาพทดแทน การใช้ปุ๋ยเคมี 4 สาธิตการไถกลบตอซังและฟางข้าวและ การเตรียมดินโดยไม่ไถพรวน 3 สนับสนุนปัจจัยการผลิตแก่เกษตรกร 2 อบรมวิทยากรพี่เลี้ยง 1 แต่ละจังหวัดคัดเลือกพื้นที่และเกษตรกร ปัญหา/อุปสรรค

  16. ผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบนผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน ของจังหวัดชัยนาท ยุทธศาสตร์ : การสนับสนุนให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนอาชีพการเพาะปลูกพืชที่ไม่เหมาะสมไปยังอาชีพที่มีศักยภาพและมูลค่าเพิ่มที่สูงกว่า ตัวชี้วัด : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากเกษตรกรที่ปรับเปลี่ยนอาชีพ(นาหญ้า,โคเนื้อ,กระบือ,แพะ) 7 ติดตามประเมนผลและจัดเก็บข้อมูล 6 เก็บเกี่ยวและจำหน่ายผลผลิต 5 นาหญ้า 5 เลี้ยงโค 5 ดำเนินการในแต่ละอาชีพ 5 เลี้ยงกระบือ 5 เลี้ยงแพะ 4 จัดหาตลาด 3 จัดหาวัสดุอุปกรณ์และสิ่งก่อสร้าง 2 ฝึกอบรมให้ความรู้เกษตรกร 1 คัดเลือกพื้นที่และเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ ปัญหา/อุปสรรค

  17. ผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบนผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน ของจังหวัดชัยนาท ยุทธศาสตร์ : พัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ในกลุ่มจังหวัด ตัวชี้วัด : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการท่องเที่ยว 5 จังหวัดเจ้าภาพหลักประมวลผลข้อมูลภาพรวม กลุ่มจังหวัด 4 จังหวัดรายงานผลให้จังหวัดเจ้าภาพหลัก 3 4 จังหวัดร่วมจัดทำแผนแม่บทการท่องเที่ยว กลุ่มจังหวัด 2 จังหวัดจัดทำแผนแม่บทการท่องเที่ยว สอดคล้องกับกลุ่มจังหวัด 1 จังหวัดสำรวจแหล่งท่องเที่ยว ปัญหา/อุปสรรค

  18. ผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบนผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน ของจังหวัดชัยนาท ยุทธศาสตร์ : พัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ในกลุ่มจังหวัด ตัวชี้วัด : จำนวนผลิตภัณฑ์OTOPที่ได้รับมาตรฐาน 4-5 ดาว 5 จังหวัดเจ้าภาพหลักประมวลผลและรายงาน 4 รายงานข้อมูลให้จังหวัดเจ้าภาพหลัก 3 คัดเลือกผลิตภัณฑ์OTOPที่ได้รับมาตรฐาน 4-5 ดาว ของจังหวัด 2 จังหวัดส่งเสริมและสนับสนุนการปรับปรุง มาตรฐานผลิตภัณฑ์OTOP 1 สำรวจและเผยแพร่ข้อมูลOTOP ของจังหวัด ปัญหา/อุปสรรค ระยะเวลาการคัดสรรผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน 4-5 ดาวเดือนตุลาคม 2547 ไม่เหมาะสมกับการดำเนินกิจกรรมอื่นๆ

  19. ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดชัยนาท27 ตัวชี้วัด

  20. ยุทธศาสตร์ด้านเศรษฐกิจยุทธศาสตร์ด้านเศรษฐกิจ

  21. โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการด้าน IT 14 เสริมสร้างทักษะบริหารจัดการและเพิ่มกำลังการผลิต กลุ่มเครือข่ายผลิตภัณฑ์ผักตบชวา 13 โครงการประหยัดพลังงานให้กับภาคอุตสาหกรรม 12 ประชุมกลุ่มผู้ประกอบการที่มีผลด้านเศรษฐกิจของจังหวัด 11 โครงการ 5 ส.สู่โครงการอุตสาหกรรม 10 การศึกษาดูงานเพิ่มมูลค่าโครงการแปรรูปอาหารจากข้าว 9 ตรวจติดตามหมวกนิรภัยตามร้านจำหน่ายเพื่อตรวจแนะนำ 8 โครงการยกระดับการแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา 7 จำหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารจากไก่โรงงานอุตสาหกรรม 6 โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร การจัดการของโรงสีข้าว 5 อบรมอาชีพสร้างกี่กระตุก 4 อบรมการสร้างผลิตภัณฑ์จากผักตบชวาให้กลุ่มแม่บ้าน 3 ปัญหา/อุปสรรค สร้างความรู้เรื่องการขอ มผช 2 หน่วยงานรับผิดชอบเร่งรัดจัดเก็บข้อมูล 1 ตัวชี้วัดที่ 1.1: ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่ารายได้จากสินค้าอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม(สินค้าอุตสาหกรรมกรรม)

  22. โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการด้าน IT 14 เสริมสร้างทักษะบริหารจัดการและเพิ่มกำลังการผลิต กลุ่มเครือข่ายผลิตภัณฑ์ผักตบชวา 13 หน่วยการใช้ไฟฟ้า โครงการประหยัดพลังงานให้กับภาคอุตสาหกรรม 12 ประชุมกลุ่มผู้ประกอบการที่มีผลด้านเศรษฐกิจของจังหวัด 11 โครงการ 5 ส.สู่โครงการอุตสาหกรรม 10 การศึกษาดูงานเพิ่มมูลค่าโครงการแปรรูปอาหารจากข้าว 9 ตรวจติดตามหมวกนิรภัยตามร้านจำหน่ายเพื่อตรวจแนะนำ 8 131,499,800 136,754,592 105,850,082 โครงการยกระดับการแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา 7 ผล ฐาน เป้า จำหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารจากไก่โรงงานอุตสาหกรรม 6 โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร การจัดการของโรงสีข้าว 5 ปัญหา/อุปสรรค อบรมอาชีพสร้างกี่กระตุก 4 อบรมการสร้างผลิตภัณฑ์จากผักตบชวาให้กลุ่มแม่บ้าน 3 สร้างความรู้เรื่องการขอ มผช 2 หน่วยงานรับผิดชอบเร่งรัดจัดเก็บข้อมูล 1 ตัวชี้วัดที่ 1.1: ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่ารายได้จากสินค้าอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม(สินค้าอุตสาหกรรมกรรม)

  23. บูรณาการการทำงานภาคราชการ ภาคเอกชน ที่เกี่ยวข้องให้บรรลุตัวชี้วัด 6 ถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านจักรกลการเกษตร 5 ส่งเสริมและให้ความรู้ในการคัดเลือกเมล็พันธุ์/ ผลิตเมล็ดพันธุ์ขยาย 4 ฟื้นฟู ปรับปรุง บำรุงดินและอบรมหมอดินอาสา 3 บริหารจัดการน้ำให้สอดคล้องกับความต้องการ ของเกษตรกร 2 ปัญหา/อุปสรรค ถ่ายทอดความรู้ตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร 1 ตัวชี้วัดที่ 1.2 : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่ารายได้จากสินค้าอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม(สินค้าเกษตรกรรม)

  24. บูรณาการการทำงานภาคราชการ ภาคเอกชน ที่เกี่ยวข้องให้บรรลุตัวชี้วัด 6 ล้านบาท ถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านจักรกลการเกษตร 5 ส่งเสริมและให้ความรู้ในการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์/ ผลิตเมล็ดพันธุ์ขยาย 4 2,641,225,842 2,487,464,755 2,586,963,345 ฟื้นฟู ปรับปรุง บำรุงดินและอบรมหมอดินอาสา 3 ผล ฐาน เป้า บริหารจัดการน้ำให้สอดคล้องกับความต้องการ ของเกษตรกร 2 ปัญหา/อุปสรรค 1.เกษตรกรไม่สามารถกำหนดราคาสินค้าเกษตร /การแพร่ระบาดของของศัตรูพืช 2.เกษตรกรไม่มีที่ทำกินของตนเอง/ปัญหาหนี้สิน ของเกษตรกร ถ่ายทอดความรู้ตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร 1 ตัวชี้วัดที่ 1.2 : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่ารายได้จากสินค้าอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม(สินค้าเกษตรกรรม)

  25. จัดเก็บข้อมูลเดือนกันยายน 2547 7 จัดเก็บข้อมูลเดือนสิงหาคม 2547 6 จัดเก็บข้อมูลเดือนกรกฎาคม 2547 5 จัดเก็บข้อมูลเดือนมิถุนายน 2547 4 ตรวจมาตรฐาน ,เลี้ยงไก่ใหม่ 3 ฆ่าเชื้อ,ทำความสะอาด,พักเล้า,ตรวจมาตรฐาน Modern farm 2 ภาวะไข้หวัดนกระบาด ทำลายไก่ 1 ปัญหา/อุปสรรค ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าสินค้า ส่งออกไก่เนื้อ

  26. จัดเก็บข้อมูลเดือนกันยายน 2547 7 แสนบาท จัดเก็บข้อมูลเดือนสิงหาคม 2547 6 จัดเก็บข้อมูลเดือนกรกฎาคม 2547 5 จัดเก็บข้อมูลเดือนมิถุนายน 2547 4 489,999,.024 51,939,965 ตรวจมาตรฐาน,เลี้ยงไก่ใหม่ 3 ผล ฐาน เป้า ฆ่าเชื้อ,ทำความสะอาด,พักเล้า,ตรวจมาตรฐาน Modern Farm 2 ภาวะไข้หวัดนกระบาด,ทำลายไก่ 1 ปัญหา/อุปสรรค -เกิดโรคระบาดไข้หวัดนก ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าสินค้า ส่งออกไก่เนื้อ

  27. สรุปรายได้และประเมินผลสรุปรายได้และประเมินผล 11 จำหน่ายผลผลิต 10 ตรวจรับรองคุณภาพ 9 เก็บเกี่ยว 8 หว่านข้าว 7 ส่งเสริมและสนับสนุนการทำน้ำหมักชีวภาพและ สารสกัดจากพืชแก่เกษตรกร 18 กลุ่ม 6 การถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร 18 กลึ่ม 5 การปรับปรุงดินและการส่งน้ำและแจกเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียวให้เกษรกรปลูก 4 ประชุมชี้แจงและขึ้นทะเบียนเกษตรกร 3 ปัญหา/อุปสรรค อบรมวิทยากรพี่เลี่ยงแก่เกษตรกร 2 คัดเลือกพื้นที่ และเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 1 ตัวชี้วัดที่ 3 : ต้นทุนการผลิตข้าวคุณภาพต่อไร่(บาทไร่)

  28. พันบาท 3,301/บาท/ไร่ 2,601/บาท/ไร่ ส่งเสริมและสนับสนุนการทำน้ำหมักชีวภาพและ สารสกัดจากพืชแก่เกษตรกร 18 กลุ่ม 6 การถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร 18 กลุ่ม 5 ผล ฐาน เป้า การปรับปรุงดินและการส่งน้ำและแจกเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียวให้เกษตรกรปลูก 4 ประชุมชี้แจงและขึ้นทะเบียนเกษตรกร 3 ปัญหา/อุปสรรค -ไม่มี อบรมวิทยากรพี่เลี่ยงแก่เกษตรกร 2 คัดเลือกพื้นที่ และเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 1 ตัวชี้วัดที่ 3 : ต้นทุนการผลิตข้าวคุณภาพต่อไร่(บาทไร่) สรุปรายได้และประเมินผล 11 จำหน่ายผลผลิต 10 ตรวจรับรองคุณภาพ 9 เก็บเกี่ยว 8 หว่านข้าว 7

  29. ประเมินผลและรายงาน 8 ติดตามความก้าวหน้าโครงการ 7 จัดเก็บและประเมินผลรายได้สุทธิ ของเกษตรกรที่ร่วมโครงการ 6 โครงการส่งเสริมการปลูกหญ้าเชิงการค้า 5 4 โครงการส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อ กระบือ แพะ เป็นอุตสาหกรรมการปศุสัตว์ สนับสนุนวัสดุครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง 3 ฝึกอบรมให้ความรู้เกษตรกร 2 ปัญหา/อุปสรรค คัดเลือกพื้นที่และเกษตรกรร่วมโครงการ 1 ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จาก เกษตรกรที่ปรับเปลี่ยนอาชีพ

  30. ประเมินผลและรายงาน 8 รายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 6 ติดตามความก้าวหน้าโครงการ 7 บาท/ไร่ 630 จัดเก็บและประเมินผลรายได้สุทธิ ของเกษตรกรที่ร่วมโครงการ 6 629 620 610 โครงการส่งเสริมการปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ เชิงการค้า 5 600 590 593 4 โครงการส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อ กระบือ แพะ เป็นอุตสาหกรรมการปศุสัตว์ 580 สนับสนุนวัสดุครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง 3 570 ฐาน ผล เป้า ฝึกอบรมให้ความรู้เกษตรกร 2 ปัญหา/อุปสรรค คัดเลือกพื้นที่และเกษตรกรร่วมโครงการ 1 ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จาก เกษตรกรที่ปรับเปลี่ยนอาชีพ

  31. ประเมินและติดตามผลการดำเนินงานประเมินและติดตามผลการดำเนินงาน 4 จัดทำปฏิทินการท่องเที่ยวเชื่อมโยง กลุ่มจังหวัด 4 3 จัดทำแผนปฏิบัติการที่ท่องเที่ยว หลักและรอง จัดทำแผนแม่บทการท่องเที่ยวของจังหวัด 2 ปัญหา/อุปสรรค 1 สำรวจแหล่งท่องเที่ยว ตัวชี้วัดที่ 5 : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการท่องเที่ยว

  32. ประเมินและติดตามผลการดำเนินงานประเมินและติดตามผลการดำเนินงาน 4 ล้านบาท จัดทำปฏิทินการท่องเที่ยวเชื่อมโยง กลุ่มจังหวัด 4 3 จัดทำแผนปฏิบัติการที่ท่องเที่ยวหลัก และรอง 66.81 จัดทำแผนแม่บทการท่องเที่ยวของจังหวัด 2 ฐาน เป้า ผล ปัญหา/อุปสรรค 1.ปัญหาไข้หวัดนกทำให้รายจากสวนนกลดลง 2.เขื่อนเจ้าพระยาขาดการพัฒนาภูมิทัศน์ 1 สำรวจแหล่งท่องเที่ยว ตัวชี้วัดที่ 5 : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการท่องเที่ยว

  33. สนับสนุนงบประมาณการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP 7 ลงทะเบียนกลุ่มผู้ผลิตและกลุ่มผู้ประกอบการ 6 ฝึกอบรมด้านการบริหารจัดการกลุ่มอาชีพ OTOP 5 พัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOPให้ได้รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อย.มผช.และชัยนาทแบนด์ 4 ปัญหา/อุปสรรค 3 จัดทำสื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ส่งเสริมและสนับสนุนกลุ่มผู้ผลิต OTOP การปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์ 2 แนวทางแก้ไข สนับสนุนข้อมูล OTOP ที่ได้รับมาตรฐาน 4-5 ดาว ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1 ตัวชี้วัดที่ 6:จำนวนผลิตภัณฑ์OTOPที่ได้รับมาตรฐาน 4-5 ดาว(ผลิตภัณฑ์)

  34. สนับสนุนงบประมาณการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP 7 ลงทะเบียนกลุ่มผู้ผลิตและกลุ่มผู้ประกอบการ 6 3 ดาว ฝึกอบรมด้านการบริหารจัดการกลุ่มอาชีพ OTOP 5 4 ดาว 5 ดาว เป้า ฐาน ผล พัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOPให้ได้รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อย.มผช.และชัยนาทแบนด์ 4 ปัญหา/อุปสรรค 1.กำลังการผลิตยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด 2.ขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์การผลิต 3.รูปแบบบรรจุภัณฑ์บางผลิตภัณฑ์ยังไม่เหมาสม 4.ระยะเวลาการคัดสรรผลิตภัณฑ์ให้ได้รับมาตรฐาน 4-5 ดาวในเดือนตุลาคม เวลาช้าเกินไป 3 จัดทำสื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ส่งเสริมและสนับสนุนกลุ่มผู้ผลิต OTOP การปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์ 2 สนับสนุนข้อมูล OTOP ที่ได้รับมาตรฐาน 4-5 ดาว ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1 แนวทางแก้ไข - ให้ความรู้แก่สมาชิกและคณะกรรมการฯด้านผลิตภัณฑ์ - จัดสรรงบประมาณ ตัวชี้วัดที่ 6:จำนวนผลิตภัณฑ์OTOPที่ได้รับมาตรฐาน 4-5 ดาว(ผลิตภัณฑ์)

  35. บูรณาการตามนโยบายและงานประจำที่ได้รับงบประมาณตามปกติบูรณาการตามนโยบายและงานประจำที่ได้รับงบประมาณตามปกติ 7 ติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน 6 ส่งข้อมูลให้หน่วยงานผู้รับผิดชอบ 5 หน่วยงานจัดเก็บข้อมูลในส่วนที่รับผิดชอบ 4 ปัญหา/อุปสรรค หน่วยงานดำเนินงานร่วมกับอำเภอสร้างแนวทางปฏิบัติ 3 จัดทำรายละเอียดเป้าหมายในแต่ละพื้นที่ 2 แนวทางแก้ไข ประชุมคณะทำงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1 ตัวชี้วัดที่ 7 :ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด

  36. บูรณาการตามนโยบายและงานประจำที่ได้รับงบประมาณตามปกติบูรณาการตามนโยบายและงานประจำที่ได้รับงบประมาณตามปกติ 7 ล้านบาท ติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน 6 19,745 18,283 ส่งข้อมูลให้หน่วยงานผู้รับผิดชอบ 5 ฐาน เป้า หน่วยงานจัดเก็บข้อมูลในส่วนที่รับผิดชอบ 4 ปัญหา/อุปสรรค -.ปัญหาโรคระบาดไข้หวัดนกและสถานการณ์ราคาน้ำมันสูง ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตสินค้าด้านเกษตรกรรมสูงขึ้น อาจ ทำให้ GPP ไม่สามารถเพิ่มได้ตามเป้าหมาย หน่วยงานดำเนินงานร่วมกับอำเภอสร้างแนวทางปฏิบัติ 3 จัดทำรายละเอียดเป้าหมายในแต่ละพื้นที่ 2 แนวทางแก้ไข ทบทวนเป้าหมาย GPP ให้สอดคล้องกับข้อมูล เศรษฐกิจของจังหวัดประเทศ ประชุมคณะทำงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1 ตัวชี้วัดที่ 7 :ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด

  37. ติดตามประเมินผลและรายงานติดตามประเมินผลและรายงาน 9 พัฒนาและยกระดับรายได้ให้กับครัวเรือนเป้าหมาย 8 จัดส่งรายชื่อครัวเรือนที่ตกเกณฑ์และมีความประสงค์จะได้รับการพัฒนาอาชีพให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 7 สำรวจข้อมูลครัวเรือนที่ตกเกณฑ์ จปฐ. ข้อ 27 เป็นรายเดือน 6 ให้ความรู้แก่คณะกรรมการและหัวหน้าครัวเรือน เรื่องการจัดเก็บข้อมูล 5 เสนอแผนต่อประชาคมหมู่บ้านเพื่อยืนยันรับรอง 4 ปัญหา/อุปสรรค จัดทำแผนยกระดับรายได้หรือแผนแม่บทชุมชน 3 อำเภอกิ่งอำเภอจัดประชาคมหมู่บ้านเพื่อตรวจสอบ และยืนยันข้อมูล 2 แนวทางแก้ไข จัดทำบัญชีครัวเรือนที่มีรายได้น้อยต่ำกว่า 20,000 บาทปี 1 ตัวชี้วัดที่ 8 : ร้อยละที่ลดลงของคนในครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่า 20,000 บาท/ ปี

  38. ติดตามประเมินผลและรายงานติดตามประเมินผลและรายงาน 9 พัฒนาและยกระดับรายได้ให้กับครัวเรือนเป้าหมาย 8 จำนวนครัวเรือน จัดส่งรายชื่อครัวเรือนที่ตกเกณฑ์และมีความประสงค์จะได้รับการพัฒนาอาชีพให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 7 8,673 สำรวจข้อมูลครัวเรือนที่ตกเกณฑ์ จปฐ. ข้อ 27 เป็นรายเดือน 6 20,836 3,262 ให้ความรู้แก่คณะกรรมการและหัวหน้าครัวเรือน เรื่องการจัดเก็บข้อมูล 5 ฐาน เป้า ผล เสนอแผนต่อประชาคมหมู่บ้านเพื่อยืนยันรับรอง 4 ปัญหา/อุปสรรค 1.ครัวเรือนที่ตกเกณฑ์ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งมี ต้นทุนการผลิตสูง 2.หนี้สินนอกระบบ 3.ไม่มีปัจจัยการผลิตเป็นของตนเอง เช่น ที่ดิน จัดทำแผนยกระดับรายได้หรือแผนแม่บทชุมชน 3 อำเภอกิ่งอำเภอจัดประชาคมหมู่บ้านเพื่อตรวจสอบ และยืนยันข้อมูล 2 จัดทำบัญชีครัวเรือนที่มีรายได้น้อยต่ำกว่า 20,000 บาทปี 1 ตัวชี้วัดที่ 8 : ร้อยละที่ลดลงของคนในครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่า 20,000 บาท ปี แนวทางแก้ไข - ให้ความรู้กับครัวเรือนเป้าหมาย ลดต้นทุนการผลิต ปรับเปลี่ยนอาชีพ - สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับวินัยการใช้เงิน

  39. ติดตามและประเมินผล 11 หว่านข้าว 10 นักวิชาการศูนย์ ตรวจสอบรับรองเมล็ดพันธุ์ 9 แช่ข้าวผ่านน้ำเกลือ 8 วิทยากรพี่เลี้ยงตรวจสอบ รับรองการชั่งเมล็ดพันธุ์ 7 ทดสอบความงอกของเมล็ดพันธุ์ข้าว 6 คัดเมล็ดพันธุ์ข้าว 5 เตรียมเมล็ดพันธุ์ข้าว 4 ถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรฯต่อเนื่อง 18 กลุ่ม 3 อบรมวิทยากรพี่เลี้ยงเกษตรกร 2 ปัญหา/อุปสรรค คัดเลือกพื้นที่และเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 1 ตัวชี้วัดที่ 9 :จำนวนกิโลกรัมของเมล็ดพันธ์ที่ใช้ต่อไร่(กิโลกรัม)

  40. สรุปและประเมินผล 11 หว่านข้าว 10 นักวิชาการศูนย์ ตรวจสอบรับรองเมล็ดพันธุ์ 9 ก.ก. แช่ข้าวผ่านน้ำเกลือ 8 วิทยากรพี่เลี้ยงตรวจสอบ รับรองการชั่งเมล็ดพันธุ์ 7 35 ทดสอบความงอกของเมล็ดพันธุ์ข้าว 6 18 คัดเมล็ดพันธุ์ข้าว 5 เตรียมเมล็ดพันธุ์ข้าว 4 ฐาน เป้า ผล ถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรฯต่อเนื่อง 18 กลุ่ม 3 ปัญหา/อุปสรรค การส่งน้ำไม่เป็นไปตามแผนทำให้เกษตรกรบางราย หว่านข้าวก่อนกำหนด อบรมวิทยากรพี่เลี้ยงเกษตรกร 2 คัดเลือกพื้นที่และเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 1 ตัวชี้วัดที่ 9 :จำนวนกิโลกรัมของเมล็ดพันธ์ที่ใช้ต่อไร่(กิโลกรัม)

  41. ดำเนินการฝึกอบรมตามหลักสูตรยกระดับฝีมือแรงงานดำเนินการฝึกอบรมตามหลักสูตรยกระดับฝีมือแรงงาน 6 คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย 5 ประชาสัมพันธ์ 4 จัดทำแผนปฏิบัติการ 3 กำหนดหลักสูตร เตรียมความพร้อมด้านบุคลากรสถานที่ 2 ปัญหา/อุปสรรค จัดทำโครงการขอรับการสนับสนุนงบประมาณ 1 ตัวชี้วัดที่ 10 :จำนวนแรงงานที่ยากจนและไร้ฝีมือที่ได้รับการพัฒนาและทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน

  42. ดำเนินการฝึกอบรมตามหลักสูตรยกระดับฝีมือแรงงานดำเนินการฝึกอบรมตามหลักสูตรยกระดับฝีมือแรงงาน 6 คน คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย 5 ประชาสัมพันธ์ 4 350 203 จัดทำแผนปฏิบัติการ 3 ฐาน เป้า ผล กำหนดหลักสูตร เตรียมความพร้อมด้านบุคลากรสถานที่ 2 ปัญหา/อุปสรรค 1.กลุ่มเป้าหมายยังไม่ได้สมัครเข้าร่วมโครงการ 2.ไม่สามารถฝึกอบรมได้ตลอดหลักสูตร 3.บางส่วนอ่านหนังสือไม่ออกเขียนไม่ได้ จัดทำโครงการขอรับการสนับสนุนงบประมาณ 1 ตัวชี้วัดที่ 10 :จำนวนแรงงานที่ยากจนและไร้ฝีมือที่ได้รับการพัฒนาและทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน

  43. สำรวจและรายงานผลข้อมูลรายได้ของกลุ่มอาชีพเป็นรายเดือนสำรวจและรายงานผลข้อมูลรายได้ของกลุ่มอาชีพเป็นรายเดือน 6 สนับสนุนกลุ่มผู้ผลิตสินค้าOTOPเข้าร่วมงาน แสดงสินค้าต่าง 5 โครงการOTOP FAIR 2004 เดือนละ 2 วัน 4 ให้ความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการหาตลาด 3 ปัญหา/อุปสรรค จัดทำWebsite เผยแพร่ข้อมูล 2 แนวทางแก้ไข จัดกำหนดเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับช่องทางการจำหน่ายและพัฒนาผลิตภัณฑ์ 1 ตัวชี้วัดที่ 12 :ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP

  44. ล้านบาท สำรวจและรายงานผลข้อมูลรายได้ของกลุ่มอาชีพเป็นรายเดือน 6 127,923,000 132,000,000 95,686,700 สนับสนุนกลุ่มผู้ผลิตสินค้าOTOPเข้าร่วมงาน แสดงสินค้าต่างๆ 5 ฐาน เป้า ผล โครงการOTOP FAIR 2004 เดือนละ 2 วัน 4 ให้ความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการหาตลาด 3 ปัญหา/อุปสรรค 1.ข้อมูลรายได้ของกลุ่มอาชีพยังไม่ครบถ้วนเนื่องจากใช้แบบเครดิต จัดทำWebsite เผยแพร่ข้อมูล 2 แนวทางแก้ไข - ประมาณการรายได้จากยอด รายได้การจำหน่ายสินค้าที่ใช้ระบบเครดิต จัดกำหนดเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับช่องทางการจำหน่ายและพัฒนาผลิตภัณฑ์ 1 ตัวชี้วัดที่ 12 :ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP

  45. จัดหางานพิเศษนักเรียน นักศึกษา 9 ช่วยเหลือผู้ถูกเลิกจ้าง 8 จัดหางานให้ผู้พ้นโทษ 7 จัดหาแรงงานไทยทดแทนแรงงานต่างด้าว 6 นัดพบแรงงานย่อย 5 จัดหางานเคลื่อนที่ 4 ปัญหา/อุปสรรค ส่งเสริมให้คนพิการมีงานทำ 3 รับสมัครงาน,หาตำแหน่งงานว่าง,บรรจุงาน 2 ประชาสัมพันธ์ 1 ตัวชี้วัดที่ 15 : ร้อยละที่ลดลงของอัตราการว่างงาน

  46. จัดหางานพิเศษนักเรียน นักศึกษา 9 ช่วยเหลือผู้ถูกเลิกจ้าง 8 คน จัดหางานให้ผู้พ้นโทษ 7 จัดหาแรงงานไทยทดแทนแรงงานต่างด้าว 6 นัดพบแรงงานย่อย 5 เป้า ฐาน ผล จัดหางานเคลื่อนที่ 4 ปัญหา/อุปสรรค 1.จำนวนตัวเลขผู้ว่างงานใช้ตัวเลขจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ/จังหวัด 2.การได้มาซึ่งตัวเลขผู้ว่างงานใช้วิธีการทางสถิติโดยสุ่มตัวอย่างทำให้ เกิดความคลาดเคลื่อน โดยเฉพาะกลุ่มบุคคลที่สุ่มตัวอย่างไม่ครอบคลุม ทำให้เกิดปัญหากรณีช่วงการรอฤดูกาลของภาคเกษตรตัวเลขผู้ว่างงาน จะสูงกว่าปกติ ส่งเสริมให้คนพิการมีงานทำ 3 รับสมัครงาน,หาตำแหน่งงานว่าง,บรรจุงาน 2 ประชาสัมพันธ์ 1 ตัวชี้วัดที่ 15 : ร้อยละที่ลดลงของอัตราการว่างงาน

  47. ติดตามผลเดือนละอย่างน้อย 1 ครั้ง 10 กำหนดมาตรการดำเนินงานกับผู้กู้ยืมที่นำไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ 9 คัดเลือกครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่ประสบผลสำเร็จเพื่อ เป็นตัวอย่างขยายผล 8 ส่งเสริมการประกอบอาชีพ 7 ส่งเสริมการลดต้นทุนการผลิต 6 ส่งเสริมการออมของครอบครัว 5 4 ประกวดหมู่บ้าน กข.คจ.ดีเด่น ระดับอำเภอ/จังหวัด ปัญหา/อุปสรรค อบรมให้ความรู้ด้านการพัฒนาอาชีพ 3 ให้ความผู้แก่คณะกรรมการโครงการ กจ.คจ.เรื่องการติดตาม เงินยืมตามโครงการ 2 จัดทำและเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาอาชีพเสริมและหลัก 1 ตัวชี้วัดที่ 17 : ร้อยละของผู้กู้ยืมเงินจากกองทุนของ โครงการ กข.คจ.ที่สามารถชำระคืนตามกำหนด

  48. ติดตามผลเดือนละอย่างน้อย 1 ครั้ง 10 ครัวเรือน กำหนดมาตรการดำเนินงานกับผู้กู้ยืมที่นำไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ 9 คัดเลือกครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่ประสบผลสำเร็จเพื่อ เป็นตัวอย่างขยายผล 8 ส่งเสริมการประกอบอาชีพ 7 ส่งเสริมการลดต้นทุนการผลิต 6 ส่งเสริมการออมของครอบครัว 5 4 ประกวดหมู่บ้าน กข.คจ.ดีเด่น ระดับอำเภอ/จังหวัด ปัญหา/อุปสรรค อบรมให้ความรู้ด้านการพัฒนาอาชีพ 3 ให้ความผู้แก่คณะกรรมการโครงการ กจ.คจ.เรื่องการติดตาม เงินยืมตามโครงการ 2 จัดทำและเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาอาชีพเสริมและหลัก 1 ตัวชี้วัดที่ 17 : ร้อยละของผู้กู้ยืมเงินจากกองทุนของ โครงการ กข.คจ.ที่สามารถชำระคืนตามกำหนด 149 100% 100%

  49. ติดตามผลการดำเนินงาน 8 กำหนดมาตรการดำเนินงานกับผู้กู้ยืมที่นำไปใช้ ผิดวัตถุประสงค์ 7 สนับสนุนเงินกองทุนต่างๆ เช่นทุนประกอบอาชีพ 6 ส่งเสริมการออมของครอบครัว 5 ประกวดกองทุนหมู่บ้านดีเด่นระดับอำเภอ/จังหวัด 4 ปัญหา/อุปสรรค ให้ความรู้ด้านการพัฒนาอาชีพ 3 ให้ความรู้ด้านบริหารจัดการแก่คณะกรรมการกองทุน หมู่บ้าน 2 แนวทางแก้ไข จัดทำและเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนา อาชีพเสริมและหลัก 1 ตัวชี้วัดที่ 18 : อัตราส่วนของผู้กู้ยืมจากกองทุนหมู่บ้านที่สามารถชำระคืนตามกำหนด

  50. ติดตามผลการดำเนินงาน 8 กำหนดมาตรการดำเนินงานกับผู้กู้ยืมที่นำไปใช้ ผิดวัตถุประสงค์ 7 สนับสนุนเงินกองทุนต่างๆ เช่นทุนประกอบอาชีพ 6 ส่งเสริมการออมของครอบครัว 5 94.26% 95%% ประกวดกองทุนหมู่บ้านดีเด่นระดับอำเภอ/จังหวัด 4 ปัญหา/อุปสรรค -แบบรายงานที่ส่งกรมพัฒนาชุมชนเป็นแบบพันยอดตัวเลขของ ข้อมูลทำให้เกิดความล่าช้าในการแยกรายละเอียด ให้ความรู้ด้านการพัฒนาอาชีพ 3 ให้ความรู้ด้านบริหารจัดการแก่คณะกรรมการกองทุน หมู่บ้าน 2 แนวทางแก้ไข - ให้อำเภอ/กิ่งอำเภอจัดทำฐานข้อมูลใหม่ โดยยึดตาม คำอธิบายตัวชี้วัด จัดทำและเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนา อาชีพเสริมและหลัก 1 หมายเหตุ ครัวเรือนที่เหลือยังไม่ถึงกำหนดใช้คืนตามสัญญา ตัวชี้วัดที่ 18 : อัตราส่วนของผู้กู้ยืมจากกองทุนหมู่บ้านที่สามารถชำระคืนตามกำหนด

More Related