1 / 36

การทดลองที่ 7

การทดลองที่ 7. การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์. การวัดความร้อนของปฏิกิริยาเคมี. ส่วนที่เกิด ปฏิกิริยาเคมี. ก่อนเกิดปฏิกิริยา. หลังเกิดปฏิกิริยา. T สุดท้าย o C. T เริ่ม o C. น้ำ. ส่วนที่เกิด ปฏิกิริยาเคมี. การวัดความร้อนของปฏิกิริยาเคมี. q = C D T.

Download Presentation

การทดลองที่ 7

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์

  2. การวัดความร้อนของปฏิกิริยาเคมีการวัดความร้อนของปฏิกิริยาเคมี ส่วนที่เกิด ปฏิกิริยาเคมี

  3. ก่อนเกิดปฏิกิริยา หลังเกิดปฏิกิริยา T สุดท้ายoC T เริ่มoC น้ำ ส่วนที่เกิด ปฏิกิริยาเคมี การวัดความร้อนของปฏิกิริยาเคมี

  4. q = CDT q คือ ความร้อน มีหน่วยเป็น calorie (cal) C คือ ความจุความร้อน (heat capacity) หน่วย cal/ OC DT คือ อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง หน่วย OC

  5. q = msDT q คือ ความร้อน หน่วย cal m คือ มวลของสาร ในหน่วย กรัม (g) s คือ ความจุความร้อนจำเพาะของสาร (specific heat capacity) หน่วย cal g-1OC-1 DT คือ อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง หน่วย OC

  6. อุปกรณ์ที่ใช้วัดความร้อนคือ เครื่องแคลอริมิเตอร์ แท่งแก้วคน เทอร์โมมิเตอร์ Insulator น้ำ

  7. ในกรณีที่อุปกรณ์แคลอริมิเตอร์ในกรณีที่อุปกรณ์แคลอริมิเตอร์ ไม่ดูดหรือคายความร้อน ความร้อนที่น้ำได้รับหรือให้ = ความร้อนที่ระบบให้หรือได้รับ ซึ่งจะส่งผลให้น้ำมีอุณหภูมิ เปลี่ยนไป

  8. -qr = q + qc H2O อุปกรณ์แคลอริมิเตอร์ดูดหรือคาย ความร้อนได้ ดังนั้น qr= ความร้อนที่ระบบให้หรือได้รับจาก กระบวนการเปลี่ยนแปลง หน่วย cal

  9. -qr = q + qc H2O q = ความร้อนที่น้ำได้รับหรือสูญเสียไป หน่วย cal H2O อุปกรณ์แคลอริมิเตอร์ดูดหรือคาย ความร้อนได้ ดังนั้น

  10. -qr = q + qc H2O อุปกรณ์แคลอริมิเตอร์ดูดหรือคาย ความร้อนได้ ดังนั้น qc = ความร้อนที่แคลอริมิเตอร์ได้รับหรือ สูญเสียไป หน่วย cal

  11. -qr = q + qc H2O = msDT + qc m = มวลของน้ำในแคลอริมิเตอร์ หน่วย g s = ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ = 1.0 cal/g oC DT = อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง หน่วย OC

  12. -qr = q + qc H2O = msDT + CcDT Cc = ค่าคงที่ของแคลอริมิเตอร์ หน่วย cal/ oC DT = อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง หน่วย OC

  13. -qr= msDT + CcDT • ถ้าทราบ • มวลของน้ำ (m) • อุณหภูมิของน้ำที่เปลี่ยนไป (DT) • ค่าคงที่แคลอริมิเตอร์ (Cc) • ก็จะหาความร้อนที่ระบบปลดปล่อย • หรือดูดกลืนได้(qr)

  14. การทดลอง แบ่งออกเป็น 3 ตอนดังนี้ 1. การหาค่าคงที่แคลอริมิเตอร์ 2. การหาค่าเอนทัลปีของสารละลาย 3. การหาความร้อนของปฏิกิริยา สะเทินระหว่าง NaOH กับ HCl

  15. ตอนที่ 1 การหาค่าคงที่แคลอริมิเตอร์ วิธีทดลอง 1. ไขน้ำกลั่น 25 mL จากบิวเรตใส่ใน แคลอริมิเตอร์ 25 mL

  16. 2. ปิดฝา ทิ้งไว้ 5-10 นาที แล้วบันทึกอุณหภูมิ ….. oC

  17. 50 mL 50 mL 50 mL 50 mL 3. ไขน้ำกลั่น 25 mL ลงในบีกเกอร์ 25 mL

  18. 50 mL speed heat 4. ต้มน้ำในบีกเกอร์ จนอุณหภูมิ 45 oC บันทึกอุณหภูมิ 45oC

  19. 50 mL 50 mL 50 mL 50 mL 5. ผสมน้ำอุ่นลงในแคลอริมิเตอร์

  20. คนให้ทั่ว บันทึกอุณหภูมิ ….. oC 6. คำนวณค่าคงที่ของเครื่องแคลอริมิเตอร์ 7. ทำซ้ำครั้งที่ 2 หาค่าเฉลี่ยของค่าคงที่ แคลอริมิเตอร์

  21. การคำนวณ -qhot = qcold + qcalorimeter -msDT1 = msDT2 + CcDT2 DT1 = T(น้ำผสม) - T(น้ำอุ่น) < 0 DT2 = T(น้ำผสม) - T(น้ำเย็น) > 0 -(m1sDT1 + m2sDT2) Cc = DT2

  22. -(m1sDT1 + m2sDT2) Cc = DT2 d (ความหนาแน่น) = 1 g/mL H2O m หาจาก m = 25 g s = 1 cal/g oC เพราะฉะนั้น Cc= ……….. cal/oC

  23. XX.XX ตอนที่ 2 การหาค่าเอนทัลปีของสารละลาย วิธีทดลอง 1. ชั่งน้ำหนักเครื่อง แคลอริมิเตอร์

  24. 2. ไขน้ำกลั่น 50 mL จากบิวเรตลงใน เครื่องแคลอริมิเตอร์ 50 mL

  25. 3. ชั่งน้ำหนัก ทิ้งไว้ประมาณ 5-10 นาที แล้วบันทึกอุณหภูมิ …... oC ….. g xxx.xx g

  26. 4. ตัก CaCl2ประมาณ 2 กรัม ใส่ในหลอด ทดลอง ชั่งให้รู้น้ำหนักที่แน่นอน (ทศนิยม 2 ตำแหน่ง) บันทึกค่าน้ำหนัก 5. เทสารใส่ลงในแคลอริมิเตอร์ คนให้ทั่ว จนสารละลายหมด บันทึกอุณหภูมิสุดท้าย ….. oC

  27. 6. ชั่งน้ำหนักหลอดทดลองพร้อมสารที่ติดค้าง เพื่อนำไปหาน้ำหนักสารที่ใช้จริง 7. ทำการทดลองซ้ำโดยเปลี่ยนสารจาก CaCl2 เป็น KNO3 และ Na2CO3 ตามลำดับ 8. คำนวณค่าเอนทัลปีของการละลายสำหรับ CaCl2, KNO3และ Na2CO3

  28. การคำนวณ เอนทัลปีของการละลาย (DHsoln= qr/molสาร) -qr = qsoln + qc = (msolnssoln+ Cc) DTsoln msoln = มวลของสารละลาย (น้ำ + สาร) ssoln = ความจุความร้อนจำเพาะของสารละลาย = s ของน้ำ = 1.0 cal/g oC DTsoln = Tหลังละลาย - Tก่อนละลาย

  29. ??.?? g ตอนที่ 3 การหาความร้อนของปฏิกิริยา สะเทินระหว่าง NaOH กับ HCl วิธีการทดลอง 1. ชั่งน้ำหนักเครื่อง แคลอริมิเตอร์ …... g

  30. 2. ไข NaOH 1.0 M 50 mL จากบิวเรต ใส่ใน แคลอริมิเตอร์ ทิ้งไว้ ประมาณ 5-10 นาที บันทึกอุณหภูมิเริ่มต้น 50 mL ….. oC

  31. 3. ไข HCl 1.0 M 50 mL จากบิวเรต ใส่ใน แคลอริมิเตอร์ คนสาร ละลายผสมเบา ๆ บันทึกอุณหภูมิสุดท้าย 50 mL ….. oC

  32. ….. g xxx.xx g 4. ชั่งน้ำหนักแคลอริมิเตอร์ พร้อมสารละลายผสม

  33. 5. คำนวณหาความร้อนของปฏิกิริยา สะเทินต่อโมลของน้ำที่เกิดขึ้น

  34. การคำนวณ -qr = qsoln + qc = (m s + Cc) DT m = มวลของสารละลายผสม หน่วย g s = ความจุความร้อนจำเพาะของสารละลายผสม = s ของน้ำ = 1.0 cal/g oC Cc = ค่าคงที่ของแคลอริมิเตอร์ หน่วย cal/ oC DT = อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง หน่วย OC

  35. NaOH + HCl NaCl + H2O 1 mol 1 mol 1 mol 1 mol ปฏิกิริยาสะเทินระหว่าง NaOH กับ HCl NaOH 1 M 50 mL = x mol = H2O ความร้อนของปฏิกิริยาสะเทินต่อโมลของน้ำที่เกิดขึ้น = q / x หน่วย cal/mol

  36. บท รศ.ดร. วุฒิชัย พาราสุข อ.ดร. สมศักดิ์ ตนหมั่นเพียร พากย์ อ.ดร. สมศักดิ์ ตนหมั่นเพียร

More Related