1 / 26

รองศาสตราจารย์คิม ไชยแสนสุข อธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง

รองศาสตราจารย์คิม ไชยแสนสุข อธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง. 15 กันยายน 2551 Lehman Brothers วาณิชธนกิจ อันดับ 4 ของอเมริกา ล้มละลาย. Lehman Brothers อายุ 150 ปีเศษ สินทรัพย์สิ้นปี 2550 เท่ากับ 691 พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 23.5 ล้าน ๆ บาท. Spillover Effect ลุกลามสู่ยุโรป

brandy
Download Presentation

รองศาสตราจารย์คิม ไชยแสนสุข อธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รองศาสตราจารย์คิม ไชยแสนสุข อธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง

  2. 15 กันยายน 2551 Lehman Brothers วาณิชธนกิจ อันดับ 4 ของอเมริกา ล้มละลาย

  3. Lehman Brothers อายุ 150 ปีเศษ สินทรัพย์สิ้นปี 2550 เท่ากับ 691 พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 23.5 ล้าน ๆ บาท

  4. Spillover Effect ลุกลามสู่ยุโรป เอเชีย ไทย และอื่น ๆ

  5. ผลกระทบต่อประเทศไทย • ไตรมาส 4/51 GDP ลบ 4.2% • ไตรมาส 1/52 GDP ลบ 7.1% • ไตรมาส 2/52 GDP ลบ 4.9% • ไตรมาส 3/52 GDP ลบ 2.7% • ไตรมาส 4/52 GDP บวก 5.8%

  6. กระทบไทยอย่างรุนแรงต่อการส่งออกเพราะโครงสร้างเศรษฐกิจไทยเป็น Open Economy

  7. Expenditure on Gross Domestic Product Current Market Price Millions of Baht ที่มา: ข้อมูลจากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คำนวณร้อยละและปรับปรุงรูปแบบตารางโดยผู้เขียน

  8. 1. Private Consumption Expenditure 55% 2. Gross Private Investment Expenditure 22% 3. General Government Expenditure 19% 4. Export of Goods and Service 76% 5. Import of Goods and Service -74% 6. Statistical Discrepancy 2% Expenditure on Gross Domestic Product Current Market Price 2% 55% -74% 22% 19% 76% Gross Domestic Product 9,104,959 (100 %)

  9. ผลกระทบต่อไทยผ่านการส่งออกผลกระทบต่อไทยผ่านการส่งออก Export of Goods and Services เปรียบเทียบแต่ละไตรมาส Millions of Baht

  10. 22 กุมภาพันธ์ 2553 9:30น. GDP ไตรมาสที่ 4/2552 ขยายตัวร้อยละ 5.8 เป็นการขยายตัวครั้งแรกนับตั้งแต่หดตัวต่อเนื่องมาตั้งแต่ไตรมาสที่ 4/2551 โดย GDP ปี 2552 ลดลงร้อยละ 2.3 เป็นผลจากการส่งออกสุทธิที่เพิ่มสูงขึ้นรวมทั้งการใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภคของครัวเรือนที่ขยายตัวร้อยละ 1.4 หลังจากลดลงต่อเนื่องมา 3 ไตรมาสรวมถึงการใช้จ่ายอุปโภคของรัฐบาลที่ขยายตัวต่อเนื่องร้อยละ 5.2 ส่วนการลงทุนรวมยังคงหดตัวร้อยละ 3.4 แต่ปรับตัวดีขึ้นจากไตรมาสที่แล้วที่หดตัวร้อยละ 6.3 เนื่องจากการลงทุนด้านการก่อสร้างที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่องการส่งออกสินค้าและบริการขยายตัวร้อยละ 4.1 ส่วนการนำเข้าสินค้าและบริการหดตัวร้อยละ 7.6

  11. 22 กุมภาพันธ์ 2553 9:30น. ภาคเกษตรโดยรวมหดตัวร้อยละ 2.2 จากที่หดตัวร้อยละ 1.5 ในไตรมาสที่ 3 โดยมีผลผลิตพืชสำคัญที่ลดลงเช่นข้าวยางพารามันสำปะหลังและสับปะรดเป็นต้นในขณะที่ระดับราคาโดยรวมสูงขึ้นส่วนประมงขยายตัวร้อยละ 3.0 สอดคล้องกับการส่งออกกุ้งแช่แข็งที่เพิ่มขึ้น

  12. 22 กุมภาพันธ์ 2553 9:30น. ภาคนอกเกษตรขยายตัวร้อยละ 6.9 จากที่หดตัวร้อยละ 2.8 ไตรมาสที่แล้วโดยสาขาอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 9.9 จากอุตสาหกรรมการส่งออกที่ขยายตัวสูงเช่นคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้านอกจากนั้นสาขาโรงแรมและภัตตาคารขยายตัวร้อยละ 13.5 จากที่หดตัวร้อยละ 2.5 เนื่องจากจำนวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศเพิ่มขึ้นมากในไตรมาสนี้ถึงร้อยละ 27.7 และสาขาคมนาคมและขนส่งขยายตัว 6.9 ปรับตัวดีขึ้นจากที่หดตัวในไตรมาสที่ 3

  13. 22 กุมภาพันธ์ 2553 9:30น. ส่งออกสินค้าและบริการสุทธิ

  14. 22 กุมภาพันธ์ 2553 9:30น. อัตราการขยายตัวของ QGDP

  15. แนวโน้มเศรษฐกิจไทย ปี 2553 ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลัก • การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา • การตัดสินใจของภาครัฐที่จะคงนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจต่อ หรือไม่ • อัตราแลกเปลี่ยน • อัตราเงินเฟ้อ • ความสำเร็จของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ • ความสามารถในการขยายตลาดใหม่ • เสถียรภาพทางการเมือง

  16. ลงอย่าเศร้า ขึ้นอย่าหลงระเริง • จากวิกฤตต้มยำกุ้ง สู่ • วิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ สู่ • วิกฤตดูไบ • วิกฤตหนี้ท่วมกรีซ • วิกฤตหนี้ท่วม PIIGS

  17. เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อความอยู่รอดอย่างยั่งยืนเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อความอยู่รอดอย่างยั่งยืน “วิถีทางดำเนินของบ้านเมืองและของประชาชนโดยทั่วไป มีความเปลี่ยนแปลงมาตลอด เนื่องมาจากความวิปริตผันแปร ของวิถีแห่งเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และอื่น ๆ ของโลก ยากยิ่ง ที่เราจะหลีกเลี่ยงให้พ้นได้ จึงต้องระมัดระวัง ประคับประคองตัวเรามากขึ้น โดยเฉพาะในเรื่องการเป็นอยู่โดยประหยัดเพื่อที่จะอยู่ให้รอดและก้าวหน้าต่อไปได้โดยสวัสดี” (พระราชดำรัสเนื่องในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ 31 ธันวาคม 2521)

  18. เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดินเปรียบเสมือนเสาเข็ม ที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้ำ (พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพะเจ้าอยู่หัวจากวารสารชัยพัฒนา)

  19. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ครอบครัวระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ความพอเพียงหมายถึงความพอประมาณความมีเหตุผลรวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ความรอบคอบความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวิชาการต่างๆ

  20. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (ต่อ) มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอนและขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ ของรัฐนักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรมความ ซื่อสัตย์สุจริตและให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสมดำเนินชีวิตด้วยความ อดทนความเพียรมีสติปัญญาและความรอบคอบเพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้ง ทางด้านวัตถุสังคมสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอก ได้เป็นอย่างดี ประมวลและกลั่นกรองจากพระราชดำรัสของพรบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งพระราชทานใน วโรกาสต่างๆรวมทั้งพระราชดำรัสอื่นๆที่เกี่ยวข้องโดยได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นำไปเผยแพร่ เมื่อวันที่ ๒๑พฤศจิกายน๒๕๕๒เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของทุกฝ่ายและประชาชนโดยทั่วไป

  21. จากอดีต การเปลี่ยนแปลง ผลกระทบ-มีการปรับตัว = ภูมิคุ้มกัน ปัจจุบัน อนาคต

  22. การจัดการกับการเปลี่ยนแปลงการจัดการกับการเปลี่ยนแปลง • ไม่ประมาทในทุกสภาวะ • เรียนรู้อยู่ตลอดเวลา • สรุปบทเรียนตลอดเวลา

  23. การเปลี่ยนแปลง เป็นวัฏจักร

  24. เศรษฐกิจพอเพียงกับหนทางข้างหน้าเศรษฐกิจพอเพียงกับหนทางข้างหน้า เป็นหลักปรัชญาที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง ต่อการลดความยากจน เป็นหลักปรัชญาพื้นฐานของการสร้างพลังอำนาจ ของชุมชนและพัฒนาศักยภาพของชุมชนให้เข้มแข็ง เพื่อเป็นรากฐานของการพัฒนาประเทศ

  25. เป็นหลักปรัชญาช่วยยกระดับความรับผิดชอบของเป็นหลักปรัชญาช่วยยกระดับความรับผิดชอบของ บริษัทเอกชน ด้วยการสร้างข้อปฏิบัติในการทำธุรกิจ ที่เน้นผลกำไรในระยะยาว แม้ในสถานการณ์ แห่งการแข่งขัน เป็นแนวทางกำหนดนโยบายของชาติ สร้างภูมิคุ้มกัน กับสิ่งที่เข้ามากระทบ

More Related