1 / 54

๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๔

สิทธิประโยชน์ของเจ้าหน้าที่. และสวัสดิการต่างๆตามระเบียบ. ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๔. พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่ข้าราชการพลเรือน ปี ๒๕๕๔. งานราชการนั้น เป็นงานส่วนรวม มีผลเกี่ยวเนื่องถึงประโยชน์ ของบ้านเมือง และประชาชนทุกคน. ผู้ปฏิบัติบริหารงานราชการ

Download Presentation

๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๔

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สิทธิประโยชน์ของเจ้าหน้าที่สิทธิประโยชน์ของเจ้าหน้าที่ และสวัสดิการต่างๆตามระเบียบ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๔

  2. พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่ข้าราชการพลเรือน ปี ๒๕๕๔

  3. งานราชการนั้น เป็นงานส่วนรวม มีผลเกี่ยวเนื่องถึงประโยชน์ ของบ้านเมือง และประชาชนทุกคน.ผู้ปฏิบัติบริหารงานราชการ จึงต้องคำนึงถึงความสำเร็จของงานเป็นสำคัญ อย่านึกถึงบำเหน็จ รางวัลหรือประโยชน์เฉพาะตนให้มากนัก.มิฉะนั้นงานในหน้าที่ จะบกพร่อง เกิดเป็นผลเสียหายแก่ตนแก่งานส่วนรวมของชาติได้. ขอให้ถือว่าการทำงานในหน้าที่ได้สำเร็จสมบูรณ์เป็นทั้งรางวัล และประโยชน์อันประเสริฐสุดเพราะจะทำให้ประเทศชาติและ ประชาชนอยู่เย็นเป็นสุขและมั่นคง. อาคารเฉลิมพระเกียรติโรงพยาบาลศิริราช วันที่ ๓๑ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๕๔

  4. จะต้องมีหน้าที่และปฏิบัติหน้าที่เสียก่อนจะต้องมีหน้าที่และปฏิบัติหน้าที่เสียก่อน ก่อนจะได้รับสิทธิประโยชน์

  5. 1. ตามที่กฎหมายหรือระเบียบกำหนด เช่น - เจ้าพนักงานตามกฎหมายเฉพาะเรื่อง - จนท./คณะกรรมการ/ผู้สั่งซื้อสั่งจ้าง ตามระเบียบว่าด้วยการพัสดุ 2. ตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ของ ก.พ. 3. การมอบหมายของผู้บังคับบัญชา 4. พฤตินัยทางปฏิบัติ อำนาจ/หน้าที่ราชการ

  6. ประเภทของผู้บังคับบัญชาประเภทของผู้บังคับบัญชา (1) มีกฎหมายบัญญัติไว้ ผู้บังคับบัญชา มี 2 ประเภท 1. ผู้บังคับบัญชาตามกฎหมาย 2.ผู้บังคับบัญชาตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งของ ก.พ. (2) ได้รับมอบหมายจาก ผบ.ที่มีอำนาจสั่งบรรจุ

  7. ผู้บังคับบัญชาที่กฎหมายบัญญัติไว้ผู้บังคับบัญชาที่กฎหมายบัญญัติไว้ ตาม พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 - มาตรา 21 (กรณี ปลัดกระทรวงฯ) - มาตรา 54 (กรณี ผวจ./รอง ผวจ.) - มาตรา 55และมาตรา 60(2) (กรณี นพ.สสจ.) - มาตรา 62 (กรณี นอ. ) - มาตรา 63และมาตรา 66 (2) (กรณี สสอ.) - มาตรา 32(กรณี อธิบดี/รองอธิบดี) - มาตรา 33วรรคสอง (กรณี ผอ.กอง/สำนัก/หน.ส่วนราชการ ของ สป./กรม )

  8. ผู้บังคับบัญชาที่ได้รับมอบหมายฯผู้บังคับบัญชาที่ได้รับมอบหมายฯ ตาม ม.49 พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 คำสั่ง สป.ที่ 4406/2547 ลงวันที่ 14 ธันวาคม 2537 (สั่งมอบหมายให้เป็น ผบ.ข้าราชการ/ลูกจ้าง) - ผอ.วิทยาลัย สังกัด สบช. - ผอ.รพช/รพท/รพศ.ของ สป.

  9. ตัวอย่างคดีปกครองเกี่ยวกับตัวอย่างคดีปกครองเกี่ยวกับ การบริหารงานบุคคล

  10. คำสั่งให้ไปปฏิบัติราชการ/มอบหมายงานคำสั่งให้ไปปฏิบัติราชการ/มอบหมายงาน • ศาลปกครองสูงสุด อ.458/2551 สั่งให้ ผอ.รพช.ไปปฏิบัติงานประจำ ที่ สป.แล้ว ต่อมาศาลปกครองกลาง พิพากษาให้จ่ายค่าเสียหายครึ่งล้าน • ศาลปกครองสูงสุด อ.112/2552 ผอ.รพช.สั่งให้ หน.พยาบาลไปปฏิบัติหน้าที่ หัวหน้างานผู้ป่วยนอก

  11. อำนาจสั่งให้ไปปฏิบัติราชการของ ผวจ. • ผวจ. มีอำนาจสั่งให้ไปปฏิบัติราชการ ตาม ม.54 วรรคหนึ่ง และ ม.57 พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2544 (ระดับ 8 เดิมลงมา) ประกอบ ม.57(11) พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 • ความเห็น คกก.กฤษฎีกา เรื่องเสร็จ ที่ 305/2546

  12. 1. ในระหว่างรับราชการ สิทธิประโยชน์และสวัสดิการ 2. เมื่อออกจากราชการแล้ว 3. เมื่อถึงแก่ความตาย

  13. สิทธิประโยชน์และสวัสดิการ เช่น 1. เงินเดือน/ค่าจ้าง/ค่าตอบแทน - ตามตำแหน่งหน้าที่ราชการ/เงินประจำตำแหน่ง - การเลื่อนเงินเดือน/ค่าจ้าง/ค่าตอบแทนพิเศษ - การถูกลงโทษทางวินัย - การขาด/หนีราชการ พรฎ.การจ่ายเงินเดือนฯ มาตรา 16 ( กค 0531/18920 ลงวันที่ 29 เมษายน 2530 กรณีไม่มาทำงาน/มาลงชื่อทำงานแล้วไม่อยู่/ไม่ยื่นใบลาหรืออนุญาตการลา ถือว่า ขาดราชการหรือหนีราชการ ห้ามจ่ายเงินเดือนในวันนั้น) 2. ค่าตอบแทนนอกเหนือจากเงินเดือน/ เงินรางวัล

  14. 3. ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานทั้งในและนอกเวลาราชการ - ตามระเบียบของกระทรวงการคลัง - ตามข้อบังคับของกระทรวงสาธารณสุข 4. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการและการฝึกอบรม - เบี้ยเลี้ยง - ค่าเช่าที่พัก - ค่าพาหนะ - ค่าใช้จ่ายอื่นๆ

  15. 5. ค่าสวัสดิการต่างๆ ตามพระราชกฤษฎีกา เช่น - ค่ารักษาพยาบาล - การศึกษาของบุตร - การช่วยเหลือบุตร - ค่าเช่าบ้าน - เบี้ยกันดาร 6. การสงเคราะห์เนื่องจากได้รับอันตราย หรือ การป่วยเจ็บเพราะเหตุปฏิบัติราชการ

  16. 7. เงินสวัสดิการต่างๆ ตามพระราชกฤษฎีกา เช่น - ค่ารักษาพยาบาล - การศึกษาของบุตร - การช่วยเหลือบุตร - ค่าเช่าบ้าน - เบี้ยกันดาร 8. การสงเคราะห์เนื่องจากได้รับอันตราย หรือ การป่วยเจ็บเพราะเหตุปฏิบัติราชการ

  17. 9. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ 10. อายุราชการทวีคูณ 11. บำเหน็จ บำนาญ ตาม พ.ร.บ.บำเหน็จบำนาญ - บำเหน็จบำนาญปกติ (กรณีออกจากราชการ) - บำเหน็จบำนาญพิเศษ (ผู้ได้รับอันตรายจนพิการ เสียแขนขา/เจ็บป่วย เพราะเหตุปฏิบัติราชการ/ถูก ประทุษร้ายในหน้าที่ จนไม่สามารถรับราชการได้) - บำเหน็จตกทอด

  18. 12. บำเหน็จ บำนาญ เงินสะสม เงินสมทบ เงิน ประเดิม เงินชดเชยและผลประโยชน์ตอบแทน เงินดังกล่าว ตาม พ.ร.บ. กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2539 13. เงินช่วยพิเศษ (กรณีตาย) 14. ขอพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ/ขอพระราชทานเพลิงศพ 15. การรับเงินเดือนเต็มในระหว่างการลา 16. สิทธิการลาประเภทต่างๆ

  19. บำเหน็จบำนาญ ตาม พ.ร.บ.บำเหน็จบำนาญ พ.ศ.2494 และ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551

  20. บำเหน็จ/บำนาญของผู้ถูกดำเนินการทางวินัย/คดีอาญาบำเหน็จ/บำนาญของผู้ถูกดำเนินการทางวินัย/คดีอาญา 1. ข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ มีกรณีหรือต้องหาว่ากระทำผิด วินัยอย่างร้ายแรง หรือถูกฟ้อง/ต้องหาคดีอาญา โดยกรณีหรือคดียังไม่ถึงที่สุด ห้ามจ่ายบำเหน็จบำนาญ เว้นแต่มีหลักประกัน (ที่ กค 0405.5/ว122 ลว.26 พ.ย.2552) 2. ผู้ถูกลงโทษปลดออกจากราชการ มีสิทธิได้รับบำเหน็จ บำนาญ เสมือนว่าลาออกจากราชการ (ม. 97 วรรคสาม แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551

  21. ผู้มีสิทธิ • เป็นข้าราชการตามกฎหมาย • รับเงินเดือนจากงบประมาณแผ่นดินประเภทเงินเดือนในอัตราสามัญ • เข้าเหตุใดเหตุหนึ่งใน 4 เหตุ • ไม่เป็นบุคคลต้องห้ามมิให้มีสิทธิ เช่น มีเวลาคำนวณไม่ครบ 1 ปี ประเภทของบำเหน็จบำนาญ • บำเหน็จบำนาญปกติ • บำเหน็จบำนาญพิเศษ • บำเหน็จตกทอด

  22. บำเหน็จบำนาญปกติ (มาตรา 9) • เหตุทดแทน • เหตุทุพพลภาพ • เหตุสูงอายุ • เหตุรับราชการนาน การขอบำเหน็จบำนาญปกติ อายุความ 3 ปี

  23. มาตรา 11 บำเหน็จบำนาญเหตุทดแทนนั้น ให้แก่ข้าราชการซึ่งออกจากประจำการเพราะเลิก หรือ ยุบตำแหน่ง หรือซึ่งมีคำสั่งให้ออกโดยไม่มีความผิด หรือ ซึ่งออกตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หรือทหารซึ่งออกจาก กองหนุนเบี้ยหวัด มาตรา 12 บำเหน็จบำนาญเหตุทุพพลภาพนั้น ให้แก่ข้าราชการผู้ป่วยเจ็บทุพพลภาพ ซึ่งแพทย์ที่ทางราชการรับรองได้ตรวจและแสดงความเห็นว่าไม่สามารถ ที่จะรับราชการในตำแหน่งหน้าที่ซึ่งปฏิบัติอยู่นั้นต่อไป

  24. มาตรา 13 บำเหน็จบำนาญเหตุสูงอายุนั้น ให้แก่ข้าราชการ ผู้มีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์แล้ว ถ้าข้าราชการผู้ใดมีอายุครบ 50 ปีบริบูรณ์แล้ว ประสงค์ จะลาออกจากราชการ ก็ให้ผู้มีอำนาจสั่งอนุญาตให้ลาออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญเหตุสูงอายุได้ มาตรา 14 บำเหน็จบำนาญเหตุรับราชการนานนั้น ให้แก่ข้าราชการซึ่งมีเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญครบ30 ปีบริบูรณ์แล้ว ถ้าข้าราชการผู้ใดมีเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญครบ 25ปีบริบูรณ์แล้ว ประสงค์จะลาออกจากราชการ ก็ให้ผู้มีอำนาจสั่งอนุญาตให้ลาออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญเหตุรับราชการนานได้

  25. มาตรา 15 ข้าราชการผู้ซึ่งมีเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญไม่ถึง 10 ปีบริบูรณ์ มีสิทธิได้บำเหน็จ ข้าราชการผู้ซึ่งมีเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญตั้งแต่ 10 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป มีสิทธิได้บำนาญ มาตรา 16 ข้าราชการผู้มีสิทธิได้บำนาญจะยื่นคำขอรับบำเหน็จ แทนบำนาญก็ได้ มาตรา 17 ข้าราชการผู้ใดมีเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญครบ 10 ปีบริบูรณ์แล้ว ออกจากราชการเพราะลาออกและไม่มีสิทธิที่จะได้รับบำเหน็จบำนาญปกติ ก็ให้ได้รับบำเหน็จ

  26. บำเหน็จ • ลาออกจากราชการ • มีเวลาราชการสำหรับคำนวณครบ 10 ปีบริบูรณ์ • ไม่มีสิทธิได้รับด้วยเหตุใดเหตุหนึ่งใน 4 เหตุ ผู้ถูกลงโทษปลดออกจากราชการ มีสิทธิได้ รับบำเหน็จเสมือนว่าลาออกจากราชการ

  27. การนับเวลาราชการ  เวลาปกติ  เวลาทวีคูณ • ทำหน้าที่ทหารตามที่กระทรวงกลาโหมกำหนด • ปฏิบัติหน้าที่ในเขตประกาศกฎอัยการศึก  เวลาการตัดเวลาราชการ • เวลาที่ไม่ได้รับเงินเดือน • วันลาในระหว่างประกาศกฎอัยการศึก

  28. วิธีคำนวณบำเหน็จ บำนาญ  บำเหน็จ เงินเดือนเดือนสุดท้าย  เวลาราชการ  บำนาญ เงินเดือนเดือนสุดท้าย  เวลาราชการ 50

  29. บำเหน็จดำรงชีพ 1. คือ เงินที่จ่ายให้แก่ผู้รับบำนาญ เพื่อช่วยเหลือ การดำรงชีพโดยจ่ายให้ครั้งเดียว 2. ผู้มีสิทธิขอ คือ ผู้รับบำนาญปกติ หรือผู้รับ บำนาญพิเศษเพราะเหตุทุพลภาพ 3. จ่ายให้ไม่เกิน 15 เท่าของบำนาญรายเดือนที่ได้รับ แต่ไม่เกิน 200,000 บาท

  30. บำเหน็จตกทอด 1. เงินที่จ่ายให้แก่ทายาทครั้งเดียว ในกรณีที่ข้าราชการ หรือผู้รับบำนาญ ถึงแก่ความตาย 2. ผู้รับบำนาญปกติ/ผู้รับบำนาญพิเศษเพราะเหตุ ทุพลภาพ อาจนำสิทธิในบำเหน็จตกทอด ไปเป็น หลักทรัพย์ประกันการกู้เงินจากสถาบันการเงินได้

  31. วิธีคำนวณบำเหน็จตกทอดวิธีคำนวณบำเหน็จตกทอด • ข้าราชการตาย ระหว่างรับราชการ โดยความตายไม่ได้เกิดจากการ ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรงของตนเอง เงินเดือนเดือนสุดท้าย  จำนวนปีเวลาราชการ  ผู้รับบำนาญตาย 30 X บำนาญรายเดือน (ถ้ามี ช.ค.บ.รวมด้วย)

  32. ทายาทผู้มีสิทธิรับบำเหน็จตกทอดทายาทผู้มีสิทธิรับบำเหน็จตกทอด • บุตร 2 ส่วน มีบุตรตั้งแต่ 3 คนขึ้นไปได้ 3 ส่วน • บิดามารดา หรือบิดาหรือมารดาที่มีชีวิตอยู่ 1 ส่วน สามีหรือภริยา 1 ส่วน กรณีที่ไม่มีทายาทดังกล่าว ให้จ่ายแก่บุคคล ที่ผู้ตายแสดงเจตนาไว้ต่อส่วนราชการเจ้าสังกัด ถ้าไม่ได้แสดงเจตนาไว้ ให้สิทธิดังกล่าวเป็นอันยุติ

  33. เงินช่วยพิเศษ • ข้าราชการถึงแก่ความตายในระหว่างรับราชการ จะได้รับเงินช่วยพิเศษ 3 เท่าของเงินเดือนเต็มเดือน ถ้าตาย ในระหว่างละทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มี เหตุผลอันสมควรหรือหนีราชการ ไม่มีสิทธิได้รับ

  34. การจ่ายเงินช่วยพิเศษ 1. จ่ายให้แก่บุคคลซึ่งผู้ตายแสดงเจตนาไว้ 2. ถ้ามิได้แสดงเจตนาไว้ หรือบุคคลดังกล่าวตายก่อน ข้าราชการผู้ตายหรือก่อนมีการจ่ายเงิน ให้จ่ายเงินแก่ บุคคล ตามลำดับ ดังนี้ 1.คู่สมรส 2.บุตร 3. บิดามารดา ถ้าบุคคลในลำดับก่อนมีชีวิตอยู่ บุคคลในลำดับถัดไปไม่มีสิทธิได้รับ ถ้าในลำดับเดียวกันมีหลายคน ให้จ่ายให้แก่ผู้ ซึ่งได้รับมอบเป็นหนังสือหรือผู้ที่จัดการศพ

  35. การได้รับหรือไม่ได้รับ เงินเดือนเต็มในระหว่างลาตาม พรฎ.การจ่ายเงินเดือนฯ พ.ศ.2535 1. ลาป่วย ปีหนึ่งไม่เกิน 60 วันทำการ ผู้บังคับบัญชาตำแหน่ง อธิบดีหรือเทียบเท่า อนุมัติได้อีกไม่เกิน 60 วันทำการ 2. ลาคลอดบุตร ไม่เกิน 90 วัน 3. ลากิจส่วนตัว ไม่เกิน 45 วันทำการ ปีแรกไม่เกิน 15 วันทำการ 4. ลาพักผ่อน ตามระเบียบว่าด้วยการลาของข้าราชการ 5. ลาอุปสมบทหรือลาไปประกอบพิธีฮัจย์ ไม่เกิน 120 วัน แต่ ต้องรับราชการมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน

  36. 6. ลาเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล (รับเงินได้ตลอดระยะเวลาที่ไปในเรื่องนั้น) 7. ลาไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัย ไม่เกิน 4 ปี และผบ.อนุญาตให้ลาต่อได้อีก แต่รวมแล้ว จะต้องไม่เกิน 6 ปี 8. ลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ (ไม่ได้รับเงิน เว้นแต่ได้รับจากองค์การฯน้อยกว่า) 9. ลาติดตามคู่สมรส (ไม่ให้เงินเดือนระหว่างลา)

  37. ระเบียบว่าด้วยการการลาของข้าราชกา พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม กำหนดการลา 9 ประเภท ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องกำหนดเวลาทำงานและวันหยุดราชการ วันทำงาน/วันหยุด วันจันทร์ถึงวันศุกร์ เป็นวันทำงาน วันเสาร์และวันอาทิตย์เป็นวันหยุดราชการประจำสัปดาห์ และหยุดราชการวันนักขัตฤกษ์/วันชดเชย/หยุดตามมติ ครม. เวลาทำงาน ทำงานวันละ 7 ชม. เริ่มตั้งแต่เวลา 8.30 น. ถึง 16.30 น. หยุดกลางวัน 12.00 น. – 13.00น.

  38. 1. ลาป่วย ลาก่อนหรือในวันที่ลา เว้นแต่กรณีจำเป็น ให้เสนอใบลาวันแรกที่มาปฏิบัติงานได้ การลาป่วยตั้งแต่ 30 วันขึ้นไป ต้องมีใบรับรองแพทย์ 2. ลาคลอดบุตร ลาโดยได้รับเงินเดือน ครั้งหนึ่งไม่เกิน 90 วัน โดยไม่ต้องมีใบรับรองแพทย์ ลาก่อน หรือ ในวันที่คลอดบุตร หรือหลังวันที่คลอดบุตร ก็ได้ หากประสงค์จะลากิจส่วนตัวเพื่อเลี้ยงดูบุตร ให้มีสิทธิลาต่อเนื่อง จากการลาคลอดบุตรได้ไม่เกิน 150 วันทำการ โดยไม่มีสิทธิได้รับเงินเดือน (กรณีมีราชการจำเป็นจะเรียกตัวกลับก่อนไม่ได้ ข้อ 23)

  39. 3. ลากิจส่วนตัว ต้องเสนอใบลาก่อน เมื่อได้รับอนุญาตแล้วจึงหยุดได้ เว้นแต่มีเหตุจำเป็นไม่สามารถรอรับอนุญาตได้ทันจะเสนอหรือจัดส่งใบลาพร้อมด้วยระบุเหตุจำเป็นไว้แล้วหยุดราชการไปก่อนก็ได้แต่จะต้องชี้เหตุผลให้ผู้มีอำนาจอนุญาตทราบโดยเร็ว ในกรณีมีเหตุพิเศษที่ไม่อาจเสนอหรือจัดส่งใบลาก่อนตามวรรคหนึ่งได้ให้เสนอหรือจัดส่งใบลาพร้อมทั้งเหตุผลความจำเป็นต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับจนถึงผู้มีอำนาจอนุญาตทันทีในวันแรกที่มาปฏิบัติราชการ กรณีมีราชการจำเป็น ผบ.เรียกตัวกลับมาก่อนได้ (ลากิจส่วนตัวโดยได้รับเงินเดือนปีละไม่เกิน 45 วันทำการ)

  40. 4.ลาพักผ่อน ปีหนึ่งมีสิทธิลาได้ 10 วันทำการ เว้นแต่ ข้าราชการต่อไปนี้ในปีที่ได้รับ บรรจุเข้ารับราชการยังไม่ถึง 6 เดือน (1) บรรจุเข้ารับราชการครั้งแรก (2) ลาออกจากราชการเพราะเหตุส่วนตัว ต่อมาบรรจุกลับเข้ารับราชการ

  41. (3) ลาออกจากราชการเพื่อดำรงตำแหน่งทางการเมือง หรือ เพื่อสมัครรับเลือกตั้ง ต่อมาได้บรรจุกลับเข้ารับราชการ อีกหลัง 6 เดือน นับแต่วันออกจากราชการ (4) ถูกสั่งให้ออกจากราชการในกรณีอื่น นอกจากกรณี ไปรับราชการทหาร และกรณีไปปฏิบัติงานใด ๆ ตามความประสงค์ของทางราชการ ต่อมาได้รับบรรจุ กลับเข้ารับราชการ

  42. ปีหนึ่งลาไม่ครบ 10 วัน สะสมในปีต่อ ๆ ไปได้ แต่วันลาพักผ่อนสะสมรวมกับวันลาพักผ่อนในปีปัจจุบันต้องไม่เกิน 20 วันทำการ แต่ถ้ารับราชการมาแล้วไม่น้อยกว่า 10 ปี ให้มีสิทธินำวันลาพักผ่อนสะสมรวมกับวันลาในปีปัจจุบันได้ไม่เกิน 30 วันทำการ การลาพักผ่อนต้องเสนอใบลาก่อน เมื่อได้รับอนุญาตแล้วจึงหยุดได้ กรณีมีราชการจำเป็น ผบ.จะเรียกตัวกลับมาก่อนก็ได้

  43. 5. ลาอุปสมบทหรือลาไปประกอบพิธีฮัจย์ ต้องลาก่อนบวช/เดินทางไม่น้อยกว่า 60 วัน ยกเว้นมีกรณีพิเศษไม่อาจเสนอใบลาก่อนได้ ให้ชี้แจงเหตุผล และอยู่ในดุลพินิจของผู้มีอำนาจว่าจะให้ลาหรือไม่ ข้าราชการที่ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้ลาอุปสมบทหรือได้รับอนุญาตให้ลาไปประกอบพิธี์ฮัจย์แล้วจะต้องอุปสมบท หรือออกเดินทางไปประกอบ พิธีฮัจย์ ภายใน 10วันนับแต่วันเริ่มลาและจะต้องกลับมารายงานตัวเข้าปฏิบัติราชการภายใน 5 วันนับแต่วันที่ลาสิกขาหรือวันที่เดินทางกลับถึงประเทศไทย

  44. 6. ลาเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล เมื่อได้รับหมายเรียก ให้รายงานต่อผู้บังคับบัญชาไม่น้อยกว่า 48 ชม. และให้ไปเข้ารับการตรวจตามหมายเรียกโดยไม่ต้องรอรับคำสั่งอนุญาต 7. ลาไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงานหรือปฏิบัติการวิจัย การลาดังกล่าวไป ณ ต่างประเทศ เสนอใบลาต่อผู้บังคับบัญชาจนถึงปลัดกระทรวง ลาในประเทศ เสนอใบลาต่อผู้บังคับบัญชาจนถึงหัวหน้าส่วนราชการ

  45. 8. ลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ ให้เสนอใบลาตามลำดับจนรัฐมนตรี เมื่ออนุญาตแล้ว ให้ส่งคำสั่งให้ กระทรวงการคลัง และ ก.พ. 9. ลาติดตามคู่สมรส ให้เสนอใบลาต่อผู้บังคับบัญชาจนถึงปลัดกระทรวง เพื่อพิจารณาอนุญาตให้ลาได้ไม่เกิน 2 ปี และในกรณี จำเป็นอาจอนุญาตให้ลาต่อได้อีก 2ปี แต่เมื่อรวมแล้ว ต้องไม่เกิน 4ปี ถ้าเกิน 4 ปี ให้ลาออกจากราชการ

  46. ตัวอย่างคดีปกครองเกี่ยวกับตัวอย่างคดีปกครองเกี่ยวกับ สิทธิประโยชน์และสวัสดิการต่างๆ

  47. การจ่ายเงินสวัสดิการ/สิทธิประโยชน์การจ่ายเงินสวัสดิการ/สิทธิประโยชน์ • ศาลปกครองสูงสุด อ. 90/2550 จ่ายเงินขวัญถุง ไม่ชอบ ด้วย กม. • ศาลปกครองระยอง แดง 40/2546 ผู้ประเมินฯ ไม่ชอบด้วย กม.

  48. พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539 มาตรา 16 ในกรณีมีเหตุอื่นใดนอกจากที่บัญญัติไว้ในมาตรา 13เกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ หรือกรรมการในคณะ กรรมการที่มีอำนาจพิจารณา ทางปกครอง ซึ่งมีสภาพร้ายแรงอันอาจ ทำให้การพิจารณาทางปกครองไม่เป็นกลาง เจ้าหน้าที่ หรือกรรมการผู้นั้นจะทำการพิจารณาทางปกครองในเรื่องนั้นไม่ได้

  49. การไปต่างประเทศระหว่างการลา/วันหยุดราชการการไปต่างประเทศระหว่างการลา/วันหยุดราชการ ข้าราชการซึ่งประสงค์จะไปต่างประเทศในระหว่างการลาตามระเบียบนี้หรือในระหว่างวันหยุดราชการให้เสนอขออนุญาตต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับจนถึงหัวหน้าส่วนราชการ (ผวจ.) การอนุญาตของหัวหน้าส่วนราชการตามวรรคหนึ่ง เมื่ออนุญาตแล้วให้รายงานปลัดกระทรวงทราบด้วย (ข้อ 13)

  50. การขออนุญาตไปต่างประเทศซึ่งอยู่ติดเขตแดนไทยการขออนุญาตไปต่างประเทศซึ่งอยู่ติดเขตแดนไทย ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด และนายอำเภอในท้องที่ ที่มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศใดมีอำนาจอนุญาตให้ข้าราชการในราชการบริหารส่วนภูมิภาค ในสังกัดจังหวัดหรืออำเภอนั้นๆไปประเทศนั้น ได้ครั้งหนึ่งไม่เกิน 7วันและ 3 วันตามลำดับ (ข้อ 14)

More Related