1 / 16

เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ

เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ. ปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงทุกชีวิตในสังคม. สภาพสังคม อายุ เป้าหมายชีวิต. สังคมเกษตรกรรม / อุตสาหกรรม การแข่งขันในตลาดโลก ที่ไร้พรมแดน ครอบครัวขยาย / เดี่ยว แต่งงานเร็ว / ช้า. สภาวะทางสังคมที่เปลี่ยนแปลง. มีบุตรเร็ว / ช้า พึ่งพากัน / พึ่งตนเอง

bruno-lott
Download Presentation

เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ

  2. ปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงทุกชีวิตในสังคมปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงทุกชีวิตในสังคม • สภาพสังคม • อายุ • เป้าหมายชีวิต

  3. สังคมเกษตรกรรม / อุตสาหกรรม การแข่งขันในตลาดโลก ที่ไร้พรมแดน ครอบครัวขยาย / เดี่ยว แต่งงานเร็ว / ช้า สภาวะทางสังคมที่เปลี่ยนแปลง

  4. มีบุตรเร็ว / ช้า พึ่งพากัน / พึ่งตนเอง ครองโสดมากขึ้น การขยายตัวของเมือง การย้ายถิ่นฐาน สภาวะทางสังคมที่เปลี่ยนแปลง

  5. วิวัฒนาการทางการแพทย์วิวัฒนาการทางการแพทย์ และการสาธารณสุข ความสำเร็จในการคุมกำเนิด คนหันมาใส่ใจสุขภาพมากขึ้น กิจกรรมทางสังคม อายุที่ยืนยาวขึ้น

  6. แนวโน้มอายุเฉลี่ยของประชากรไทยแนวโน้มอายุเฉลี่ยของประชากรไทย อายุ (ปี) 85 80 75 70 ปี 65 2538 2548 2558 2568 ชาย ผู้หญิงอายุยืนกว่าผู้ชาย หญิง ข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ

  7. ร้อยละของผู้สูงอายุ จำแนกตามเพศ พ.ศ. 2513 - 2563 25 15 10 5 0 2513 2523 2533 2543 2553 2563 ชาย ข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ หญิง

  8. อายุเฉลี่ยของประชากรไทยอายุเฉลี่ยของประชากรไทย ปี อายุเฉลี่ย 2503 18 19.5 2523 2543 28.9 2548 30.5 2558 34.1 2589 40.1 หากมีประชากรมีอายุเฉลี่ยมากกว่า 30 ปี ถือเป็นประเทศผู้สูงวัย ข้อมูลจากงานวิจัยโครงการทบทวนองค์ความรู้เรื่อง “ระบบสถานบริบาลผู้สูงอายุ” โดย ผศ.ร.อ.หญิง ดร.ศิริพันธุ์ สาสัตย์ คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยการสนับสนุนของมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.)

  9. สัดส่วนประชากรที่มีอายุมากกว่า 60 ปี ต่อประชากรทั้งหมด อายุเฉลี่ย ปี 2503 4.8 5.2 2523 2543 9.3 2548 10.5 2558 2568 14.2 19.8 หากมีประชากรอายุมากกว่า 60 ปี เกินร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด ถือเป็นประเทศผู้สูงวัย ข้อมูลจากงานวิจัยโครงการทบทวนองค์ความรู้เรื่อง “ระบบสถานบริบาลผู้สูงอายุ” โดย ผศ.ร.อ.หญิง ดร.ศิริพันธุ์ สาสัตย์ คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยการสนับสนุนของมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.)

  10. โครงสร้างประชากรเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเปลี่ยนแปลง 70 65.5 65.9 65.7 65.3 64.4 60 57.4 50 36.7 40 27.4 30 25.2 24.5 24.9 20 20 14.7 9.4 9.3 8.2 9.6 5.7 10 0 2527 2539 2544 2545 2546 2562 วัยเด็ก วัยทำงาน วัยสูงอายุ ที่มา ประมาณการประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2527-2562 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

  11. สัดส่วนคนทำงาน / ผู้สูงอายุ ปี คนทำงาน ผู้สูงอายุ 25432548256325682595 100 คน 13 คน 100 คน 100 คน 100 คน100 คน 16 คน 23 คน 31 คน50 คน

  12. มีชีวิตที่สุขสบาย มีหน้าที่การงานที่ดี บุตรมีการศึกษาดี มีฐานะการเงินที่มั่นคง มีชีวิตที่สบายในวัยเกษียณ เป้าหมายในชีวิต

  13. 1. มีสุขภาพที่แข็งแรงและมีชีวิต ที่ยาวนานมากขึ้น 2. ไม่มีภาระหนี้สิน 3. มีชีวิตที่สุขสบายในวัยเกษียณ 4. มีเงินใช้จ่ายทั้งในยามปกติ ยามเกษียณ และในกรณีฉุกเฉิน 5. ไม่เป็นภาระแก่ลูกหลาน 6. มีเงินเหลือเป็นมรดกตกทอดให้แก่ลูกหลาน เป้าหมายในวัยเกษียณ

  14. ปัญหาทั่วไปของคนวัยเกษียณปัญหาทั่วไปของคนวัยเกษียณ ด้านสุขภาพ • ภูมิต้านทานโรคต่ำ • มีโอกาสเป็นโรคสูง • การรักษาให้หายเป็นปกติ • ทำได้ยากกว่าวัยอื่น

  15. ปัญหาทั่วไปของคนวัยเกษียณปัญหาทั่วไปของคนวัยเกษียณ ด้านการเงิน • รายได้ต่ำ เพราะไม่ได้ • ประกอบอาชีพ • ขาดแคลนเงินออม ด้านสังคม • ความรู้สึกว้าเหว่ • การขาดคนดูแล

  16. สิ่งสำคัญที่ต้องมีคือ “เงิน” เมื่อมีเงินก็ต้อง “วางแผน”

More Related